Categories
Featured Articles Op Ed Opinion:Thai education Opinion:World Education

The Heart of the Matter…..หัวใจสำคัญ

This commentary is titled “The Heart of the Matter”, this is the name of a famous song made popular by Don Henley, of the Eagles. As so often happens, the melodies of music and the lyrics of songs truly speak to us. What I will focus here, is matter about education, but what I am about to say also brings to my mind the title of that beautiful love song sung so well by Don Henley and many others. Although the song’s theme is different from our mission and this article, its title is truly relevant to the cause of this web site.

The SCLThailand website is dedicated to assisting Thai school administrators and classroom teachers to move more swiftly than has been possibly so far, towards the realization of the goal of student centred learning being the norm in Thai government schools. This goal was established in the Thai National Education Act, 1999 (Buddhist Era, 2542). Interestingly, the Act did not set a date for the massive paradigm shift that it seeks to happen.

Would it have been better to set a date for national implementation of that important goal? That is a question with many pros and cons.

Let us get back to “The Heart of the Matter”. It is now March 2012 [BE 2555], 13 years have passed since the promulgation of the Act. I wrote in a previous article [January 2012] about the need for education reformers to recognise that change is a slow process, this is certainly being borne out by the slow pace of change in implementing the move to student centred learning in Thailand.

Perhaps a symptom or sign of the lack of progress is the entrenched nature of the examination system in Thai schools. Each year, in mid March, students are very busy studying for end of year exams. On the face of it, this seems quite reasonable, but a few questions come up. Exactly which students are preparing for exams?  Answer: From primary school students as young as 6 years old in Primary 1 [Prathom 1] up to Year 12 in secondary [Matayom 6].

This leads to further questions.  How do young students in Year 1 prepare themselves for these examinations?  What is the general content of the examinations? Another significant question to ask is – why is it that children as young as this are subjected to examinations at all?  Another important question is – what hangs on the outcomes of the examinations?

I ask these questions in the hope that they will provoke some discussion on this website. The emphasis on examinations runs counter to the way students’ progress would be assessed in a pedagogical system where the student is at the centre of the teaching and learning.

In a student centered system there would be little emphasis on examinations – this may even be true for Thai schools today – the exam is not so important, although I suspect that is not the case.

But what about “The Heart of the Matter”?  

Let me come to it quite pointedly, “The Heart of the Matter” in educational terms is this: at the very core of the classroom, the school, the education system, and the nation’s  standing in international educational performance rankings, it is the teacher who matters most in students’ learning achievement. There is plenty of research evidence about this.  However, this is not the place to quote much of the research evidence. Perhaps the best evidence of the key role of the teacher is to look at the highest performing education systems in Asia and examine the factors which make them such high performing systems.

Four of the world’s highest performing education systems are from Asia. These are Hong Kong, Korea, Shanghai, and Singapore. The OECD’S Performance Indicators of Student Achievement [PISA] assessments in 2009 showed for example, that in Mathematics, 15 year old students from Shanghai performed two or three years above the level of students of the same age in Australia, the USA.

What is it about these four education systems that puts them well above other Asian systems and puts them in the class of world top performers?

The Grattan Institute from Melbourne University in Australia examined the four systems in an endeavour to get an answer to this question. The results of their investigation were published in an important report – Catching Up: Learning from the best school systems in East Asia [http://www.grattan.edu.au]

What the Institute found:

There is growing global agreement on what works in schools

A body of international research has identified the common characteristics of high-performing education systems.

They:

• Pay attention to what works and what doesn’t. They attend to best practice internationally, give close attention to measuring success, and understand the state and needs of their system.

• Value teachers and understand their profession to be complex. They attract high quality candidates, turn them into effective instructors and build a career structure that rewards good teaching.

• Focus on learning and on building teacher capacity to provide it. Teachers are educated to diagnose the style and progress of a child’s learning. Mentoring, classroom observation and constructive feedback creates more professional, collaborative teachers.

The four high performing East Asian systems are implementing what works. They have introduced one or several of the following reforms.

In particular they:

• Provide high quality initial teacher education. In Singapore, students are paid civil servants during their initial teacher education. In Korea, government evaluations have bite and can close down ineffective teacher education courses.

• Provide mentoring that continually improves learning and teaching. In Shanghai, all teachers have mentors, and new teachers have several mentors who observe and give feedback on their classes.

• View teachers as researchers. In Shanghai teachers belong to research groups that continuously develop and evaluate innovative teaching. They cannot rise to advanced teacher status without having a published paper peer reviewed.

• Use classroom observation. Teachers regularly observe each other’s classes, providing instant feedback to improve each student’s learning.

• Promote effective teachers and give them more responsibility for learning and teaching. Master Teachers are responsible for improving teaching throughout the system.

A few of the keys they took: In Hong Kong the emphasis on examinations was abandoned, in Singapore teacher education courses were re developed so they place a much greater emphasis on practical classroom management and pedagogical methodology accompanied by a reduction in the philosophical and reflective elements of the courses. In Singapore, pre service teachers are paid as government employees. In Shanghai teacher’s class contact hours were reduced so they would have more time to work with mentor teachers.

But the key thing is that in each of these systems government education policy is always linked closely with teachers’ working conditions, professional learning and career pathways.

In future months we will explore these systems more deeply.

I wonder how many of the reforms evident in Singapore Hong Kong Korea and Shanghai, have been considered in Thailand?

Whichever way educational reform is looked at, researched and examined, at the heart of educational improvement, are the teachers. In his book,  Why Not the Best Schools? [ACER Press, Camberwell, Australia, 2008] Brian Caldwell devotes a chapter to demonstrate that the quality of schools will never exceed the quality of the staff.

It is in this area, that Thailand needs to make some giant leaps so that its teachers will be trained and supported in such a way that will help the country achieve the goals of the National Education Act of 1999.  The Thai system can be as good the four Asian high flyers mentioned here, but my guess is that it needs to look closely at what those systems have done to move educational reform so quickly.  Similar things could be done in Thailand.

Greg Cairnduff

Acting Editorหัวใจสำคัญ

12 มีนาคม 2555

บทวิจารณ์นี้ตั้งชื่อว่า “หัวใจสำคัญ” คือชื่อของบทเพลงอันโด่งดังจากฝีมือของดอน เฮนลีย์ แห่งวง ดิ อีเกิ้ล และอย่างที่มักเกิดขึ้นเสมอ เนื้อร้องและทำนองของเพลงนี้พูดถึงพวกเราจริงๆ สิ่งที่ผู้เขียนจะมุ่งประเด็นไปในที่นี้ คือเรื่องเกี่ยวกับการศึกษา แต่สิ่งที่ผู้เขียนกำลังจะกล่าวถึงนั้นได้พาให้ผู้เขียนนึกไปถึงชื่อเพลงของบทเพลงรักที่งดงามซึ่งถูกขับร้องไว้อย่างไพเราะโดยดอน เฮนลีย์และนักร้องท่านอื่นๆ แม้ว่าเนื้อหาหลักของบทเพลงจะแตกต่างจากงานของเราและบทความนี้ ชื่อเพลงนี้กลับเกี่ยวข้องกับเหตุผลการมีอยู่ของเว็บไซท์นี้อย่างแท้จริง

เว็บไซท์ SCL ประเทศไทยสร้างขึ้นเพื่อเป็นการช่วยเหลือผู้บริหารและอาจารย์ผู้สอนในโรงเรียนในประเทศไทยให้เดินหน้าเกิดความเคลื่อนไหวมากขึ้นกว่าที่เป็นอยู่ในปัจจุบัน สู่การตระหนักถึงการให้การเรียนรู้โดยมีนักเรียนเป็นศูนย์กลางเป็นบรรทัดฐานของการเรียนรู้ในโรงเรียนของประเทศไทย จุดมุ่งหมายนี้ถูกบัญญัติไว้ในพระราบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542  ซึ่งเป็นที่น่าสังเกตว่าพรบ.นี้ไม่ได้กำหนดวันที่เอาไว้สำหรับการปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์ครั้งใหญ่นี้

น่าจะดีกว่าไหมหากจะมีการกำหนดวันเอาไว้ให้เป็นที่รับรู้ทั่วกันสำหรับเป้าหมายสำคัญเช่นนี้? นั่นเป็นคำถามที่มีทั้งผู้คัดค้านและสนับสนุน

กลับเข้ามาสู่ “หัวใจสำคัญของเรื่อง” ของเรา ตอนนี้คือเดือนมีนาคม 2555 สิบสามปีให้หลังนับจากพระราชบัญญัติประกาศใช้ ผู้เขียนเขียนไว้ในบทความก่อนหน้า (มกราคม 2555) เกี่ยวกับความจำเป็นสำหรับนักปฏิรูปการศึกษาที่จะตระหนักว่าการเปลี่ยนแปลงนี้เป็นไปอย่างช้าๆ นี่ย่อมเป็นผลเนื่องมาจากความเชื่องช้าของกระบวนการเปลี่ยนแปลงในการดำเนินการสร้างการเรียนรู้โดยนักเรียนเป็นศูนย์กลางในประเทศไทย

บางที สัญญาณหรือข้อบ่งชี้ถึงความไม่คืบหน้านี้คือการยึดติดอยู่กับระบบการสอบในโรงเรียนในประเทศไทย แต่ละปี เด็กนักเรียนจะง่วนอยู่กับการสอบปลายภาคการศึกษา มองเผินๆแล้วนี่ก็เป็นเรื่องที่สมเหตุสมผล แต่มีคำถามบางข้อขึ้นมาว่า จริงๆแล้วเด็กนักเรียนคนไหนบ้างที่ต้องเตรียมตัวเพื่อการสอบ? คำตอบคือ: นับตั้งแต่นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ไปจนถึงนักเรียนชั้นมัธยม 6

สิ่งนี้นำไปสู่คำถามถัดไป เด็กประถมหนึ่งจะเตรียมตัวในการสอบอย่างไร? เนื้อหาที่ออกสอบมีอะไรบ้าง? อีกหนึ่งคำถามสำคัญคือ – ทำไมถึงต้องมีการสอบสำหรับเด็กที่เล็กขนาดนั้นด้วย? อีกหนึ่งข้อที่สำคัญคือ – สอบแล้วได้อะไร?

ผู้เขียนถามคำถามเหล่านี้ด้วยความหวังว่ามันจะกระตุ้นให้เกิดการแสดงความคิดเห็นขึ้นในที่แห่งนี้ การให้ความสำคัญกับการสอบวัดผลขัดแย้งกับวิถีทางประเมินความก้าวหน้าของนักเรียนในระบบการศึกษาที่นักเรียนเป็นศูนย์กลางของการเรียนและการสอน

ในการศึกษาแบบผู้เรียนเป็นศูนย์กลางจะให้ความสำคัญเพียงเล็กน้อยกับการประเมินผล – นี่อาจเป็นเรื่องจริงสำหรับโรงเรียนในประเทศไทยทุกวันนี้- การสอบไม่สำคัญนัก แม้ว่าผู้เขียนจะกังขาว่ามันไม่ใช่อย่างนั้นก็ตาม

แล้ว “หัวใจสำคัญ” ล่ะ?

จะให้กล่าวอย่างตรงไปตรงมาแล้ว ”หัวใจสำคัญ” ในทางการศึกษานั้นคือ : ในใจกลางของชั้นเรียน, โรงเรียน, ระบบการศึกษา.และการจัดอันดับผลการดำเนินการทางการศึกษาของประเทศในระดับนานาชาติ ก็คือครูซึ่งเป็นผู้ที่มีผลมากที่สุดต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน มีงานวิจัยมากมายเป็นข้อสนับสนุนเกี่ยวกับประเด็นนี้ อย่างไรก็ตาม นี่ไม่ใช่ที่ที่เราจะมาพูดกันถึงหลักฐานทางการวิจัย บางทีหลักฐานที่ดีที่สุดของบทบาทสำคัญของครูอาจเป็นการศึกษาจากระบบการศึกษาที่มีประสิทธิภาพสูงสุดของเอเชียและมาสำรวจถึงปัจจัยที่ทำให้เกิดผลเช่นนั้น

สี่ประเทศที่มีระบบการศึกษาดีที่สุดในโลกในทวีปเอเชีย ได้แก่ฮ่องกง, เกาหลี. เซี่ยงไฮ้ และสิงคโปร์  หลักสูตรการประเมินผลนักเรียนนานาชาติ(PISA) ขององค์การเพื่อความร่วมมือทางเศรษฐกิจและการพัฒนา (OECD) ปี 2552 ได้ยกตัวอย่างให้เห็น เช่นในวิชาคณิตศาสตร์ เด็กนักเรียนอายุ 15 ปีของเซี่ยงไอ้ มีความสามารถสูงกว่าเด็กนักเรียนที่อายุเท่ากันในออสเตรเลียหรืออเมริกาไปสองถึงสามปี

อะไรคือสิ่งที่ทำให้ระบบการศึกษาในสี่ประเทศเหล่านี้มีความก้าวหน้าเหนือกว่าระบบของประเทศอื่นๆในเอเชีย และทำให้ประเทศเหล่านั้นก้าวขึ้นไปอยู่ในระดับแนวหน้าของโลก

สถาบันกราทตันจากมหาวิทยาลัยเมลเบิร์นในออสเตรเลียพยายามทำการศึกษาระบบทั้งสี่นี้เพื่อค้นหาคำตอบ พวกเขานำเสนอผลการค้นคว้านี้ในรายงานสำคัญ – ตามให้ทัน: เรียนรู้จากระบบโรงเรียนที่ดีที่สุดของเอเชียตะวันออก [http:www.grattan.edu.au]

สิ่งที่สถาบันค้นพบ:

คนทั่วโลกเห็นด้วยเพิ่มขึ้นว่าอะไรที่เหมาะสมกับโรงเรียน

เนื้อหาของการวิจัยแสดงให้เห็นถึงข้อพื้นฐานของระบบการศึกษาขั้นสูง

ระบบนั้น:

–           ให้ความสำคัญว่าอะไรได้ผลและอะไรไม่ได้ผล พวกเขาเข้าร่วมการฝึกฝนในระดับสากล ให้ความเอาใจใส่อย่างใกล้ชิดกับวิธีการวัดผลความสำเร็จ, และเข้าในสภาพและความต้องการของตนเอง

–           เห็นคุณค่าของครูและเข้าใจว่าอาชีพนี้มีความซับซ้อน ให้ข้อจูงใจผู้สมัครที่มีคุณภาพสูง ให้เขาเหล่านั้นทำหน้าที่เป็นผู้ฝึกสอนที่มีประสิทธิภาพและสร้างโครงสร้างรายได้อาชีพที่ตอบสนองกับการสอนที่ดี

–           ให้ความสำคัญกับการเรียนรู้และการพัฒนาศักยภาพของครูให้ตอบสนองต่อการเรียนรู้นั้น ครูจะได้รับความรู้เพื่อจะเข้าใจลักษณะและกระบวนการของการเรียนรู้ของเด็ก, การให้คำปรึกษา, การสังเกตชั้นเรียน และคำแนะนำที่สร้างสรรค์ก็จะสร้างครูที่มีความเชี่ยวชาญมากยิ่งขึ้น

สิ่งที่ทั้งสี่ระบบการศึกษาชั้นนำของเอเชียตะวันออกใช้ได้ผล ได้แนะนำหนึ่งหรือหลายข้อต่อไปนี้

โดยทั่วไป โรงเรียนเหล่านั้น:

–           จัดการอบรมวิชาชีพครูที่มีคุณภาพ ในสิงคโปร์ นักศึกษาจะได้รับเงินเดือนในระหว่างที่อบรม ในประเทศเกาหลีการประเมินของรัฐบาลสามารถสั่งปิดหลักสูตรการอบรมครูที่ไม่มีประสิทธิภาพได้

–           มีที่ปรึกษาเพื่อการพัฒนาการเรียนรู้และการสอนอย่างต่อเนื่อง ในเซี่ยงไฮ้ ครูทุกคนจะมีที่ปรึกษา และครูจบใหม่จะมีที่ปรึกษามากกว่าหนึ่งคนที่จะคอยดูแลและให้ความเห็นในการสอนของครูจบใหม่

–           มองครูในฐานะนักวิจัย ในเซี่ยงไฮ้ครูเป็นส่วนหนึ่งของคณะวิจัยเพื่อการพัฒนาและประเมินวิธีการสอนใหม่ๆอย่างต่อเนื่อง ครูไม่สามารถเพิ่มวิทยฐานะของตนเองได้หากปราศจากการพิมพ์เผยแพร่ผลงาน

–           ใช้การเยี่ยมชมห้องเรียน ครูทุกคนจะไปเยี่ยมชมชั้นเรียนอื่นเป็นประจำ ให้ข้อคิดเห็นที่จะช่วยในการพัฒนาการเรียนรู้ของนักเรียนในชั้นเรียนของแต่ละคน

–           เลื่อนตำแหน่งให้แก่ครูที่มีคามสามารถและมอบหมายหน้าที่รับผิดชอบมากกว่าเดิมในการเรียนและการสอน หัวหน้าครูจะรับผิดชอบส่วนงานพัฒนาการสอนทั้งระบบ

หลักสำคัญที่โรงเรียนเหล่านั้นใช้: ในฮ่องกง ความสำคัญของการสอบถูกมองข้าม ในสิงคโปร์ หลักสูตรการเรียนของครูถูกปรับปรุงใหม่โดยให้ความสำคัญมากขึ้นกับการฝึกสอนการจัดการชั้นเรียนจริงและวิธีการสอนในพร้อมกัน โดยการลดลงในส่วนปรัชญาและหัวข้ออื่นที่เกี่ยวข้องในหลักสูตร ที่สิงคโปร์ ครูฝึกสอนจะได้รับเงินเดือนเทียบเท่าเจ้าหน้าที่ของรัฐ และที่เซี่ยงไฮ้มีการลดชั่วโมงการสอนของครูลงเพื่อให้พวกเขามีเวลาทำงานกับที่ปรึกษาครูมากขึ้น

แต่สิ่งสำคัญคือ ในแต่ละระบบเหล่านี้ นโยบายด้านการศึกษาของรัฐบาลจะเชื่อมโยงอย่างใกล้ชิดกับเงื่อนไขการทำงานของครู, การเรียนรู้อย่างผู้เชี่ยวชาญและเส้นทางอาชีพ

ในโอกาสหน้าเราจะศึกษาระบบการศึกษาเหล่านี้ให้ลึกซึ้งยิ่งขึ้น

ผู้เขียนนึกสงสัยว่านักปฏิรูปในสิงคโปร์, ฮ่องกง, เกาหลีและเซี่ยงไฮ้ เคยนึกถึงประเทศไทยบ้างหรือไม่?

วิธีใดก็ตามที่ โยการวิจัยและการทดสอบ หัวใจหลักสำคัญของการพัฒนาระบบการศึกษาคือตัวอาจารย์ ในหนังสือ ทำไมถึงไม่เอาโรงเรียนที่ดีที่สุด? [ACER Press, Camberwell, ออสเตรเลีย, 2008] ของไบรอัน คาดเวล เขาได้เขียนไว้ในบทหนึ่งเพื่อแสดงว่าคุณภาพของโรงเรียนไม่มีทางเกินไปกว่าคุณภาพของครูในโรงเรียน

มันก็คือในที่นี้ ประเทศไทยต้องมีการก้าวกระโดดเพื่อให้ครูในประเทศมีการฝึกฝนและได้รับการสนับสนุนในทางที่จะช่วยให้ประเทศบรรลุถึงเป้าหมายของพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 ระบบการศึกษาของไทยสามารถก้าวหน้าได้เทียบเท่าระบบการศึกษาของสี่ประเทศในเอเชียที่ได้กล่าวถึงไว้ในบทความนี้ แต่ในความคิดของผู้เขียนเราต้องมองดูอย่างลึกซึ้งว่าประเทศเหล่านั้นทำอย่างไรจึงทำให้การปฏิรูปการศึกษาพัฒนาไปอย่างรวดเร็ว สิ่งนั้นน่าจะกระทำได้เช่นกันในประเทศไทย

Greg Cairnduff

รักษาการณ์บรรณาธิการ

Categories
Featured Articles Op Ed Opinion:Thai education Opinion:World Education

CHANGING TIMES ….CHANGING TEACHING AND LEARNING FOR THE 21ST CENTURY การเปลี่ยนแปลงของเวลา…. การเปลี่ยนแปลงของการเรียนการสอนในศตวรรษที่ 21

The pace of change in the world today is a feature of daily life in the 21st Century.

Educators who were in schools 30 years ago will remember the anticipated arrival of computers into daily life. Probably not many people fully realised the full impact of the rapid development of Information and Communications Technology daily life, but the coming of computers was something that was looked forward to as people felt there would been many social and economic advantages that would come with the widespread introduction of the new technology. There was talk of how computers would take over so much work that people would have much more leisure. Some education systems introduced “leisure education” into the curriculum!

I guess a question remains on whether or not the introduction of computers as an essential business and household tool has brought increased leisure. Many would doubt that it has.

But one thing was true about the 70s anticipation of the coming Information Age. In the 21st century digital technology permeates many aspects of daily life. It would be easy to list the many changes in personal and work lives that have come about as a result of pervasive ICTs, but those things are so obvious it is not necessary to mention them here.

One very important thing that is vital for educators to grasp is the rapid pace of change in work life and the exponential explosion in knowledge that has come about in the years between the final decades of last century and today.

Children born since the start of the 21st century are “digital natives” they are growing up in a truly digital, flat world.

What about the teachers of those children?

Not too many of them would be true “digital natives” most would be “digital immigrants”, they would have had to learn to live and work in the new digital age. The use of the tools of that age does not come easily to all people, teachers included. It must be admitted, however, that just as some people have a flair for learning languages other than their own native language, so too do some people have a flair for learning the digital “language” so essential to mastering the digital tools available to teachers.

Just imagine this scenario – a teacher in a high school who cannot use email, who cannot browse the internet, who cannot use tools like Skype, who does not know anything about Facebook. How can that teacher understand the real needs of the students he (or she) teachers. How can such teachers understand the world of their students and in fact how can they know their students in a way that will enable the teacher to teach the students as individuals?

Such teachers are a bit like teachers who are asked to teach a foreign language to students when they, the teachers in fact cannot speak that language themselves. They are being put in an impossible situation by the curriculum planners and administrators who introduce such initiatives without the requisite professional development of the teachers faced with implementation of the new language.

Do you know any teachers like this? Do you work with teachers like this? What are their lessons like? What is their relationship with their students like?

In Thailand I am sure many such teachers would be found in schools.

Teachers who have not adapted to the Information Age should not be condemned or looked down upon. They deserve and need as much help as possible from colleagues and their employers so that they have the confidence to use ICTs to improve their pedagogy.

Unlike the example of the jurisdictional introduction of a new curriculum above, the students who are the digital natives of the 21st century deserve to have teaching methods and a curriculum that is suited to their digital world and times. This need is not being imposed by administrators or governments as in the case of the imposition of foreign language learning as in the example above, it comes from an inevitable international spread of digital technology. So governments have to get their educations systems to respond to this as an imperative for their education systems.

In the case of Thailand, the government is about to start the distribution of computer tablets to students in Matayom 7 [year 1, high school]. The government should be applauded for taking a big step in providing Thai students with an important digital tool.

The advantage to be gained from this bold and brave initiative will not be maximized unless there is a program to train and support teachers in the use of these tablets. If there is adequate support this program could provide a dramatic swing towards student centred learning in Thai schools

SCLThailand will continue to monitor and encourage the government to follow through with it’s tablets for school children program.

ก้าวของการเปลี่ยนแปลงในโลกทุกวันนี้คือลักษณะของชีวิตประจำวันในศตวรรษที่ 21

 

นักการศึกษาที่เคยอยู่ในโรงเรียนเมื่อ 30 ปีที่แล้วจะจำได้ถึงการทำนายถึงการเข้ามาของคอมพิวเตอร์ในชีวิตประจำวัน เป็นไปได้ว่าน้อยคนที่จะตระหนักจริงๆถึงผลกระทบรุนแรงของการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วของเทคโนโลยีการสื่อสารที่มีต่อชีวิตประจำวัน แต่การเข้ามาของคอมพิวเตอร์เป็นอะไรบางอย่างที่ถูกจับตามองจากคนจำนวนมากเนื่องจากผู้คนมองว่าจะมีโอกาสทางด้านสังคมและเศรษฐกิจที่จะมาถึงพร้อมกับการแพร่กระจายของเทคโนโลยีสมัยใหม่ มีการพูดคุยกันถึงบทบาทของคอมพิวเตอร์ที่เข้ามาทำงานแทนทำให้คนมีเวลาว่างมากขึ้น บางหน่วยงานถึงกับบรรจุ “การศึกษาเพื่อการพักผ่อน” ขึ้นในหลักสูตร

ผู้เขียนเดาว่าคำถามที่ยังคงอยู่คือ การเข้ามาของคอมพิวเตอร์เป็นธุรกิจที่จำเป็นและเครื่องมือจำเป็นในงานธุรกิจและครัวเรือนที่นำมาซึ่งเวลาว่างที่เพิ่มขึ้น หลายคนจะสงสัยว่ามันจริงหรือไม่

แต่สึ่งหนึ่งที่เป็นจริงเกี่ยวกับการคาดการณ์การเข้ามาของยุคเทคโนลีการสื่อสารในยุค 70 คือ ในศตวรรษที่ 21เทคโนโลยีดิจิตอลแทรกซึมเข้ามาในหลาย ๆ ด้านของชีวิตประจำวัน มันง่ายต่อการแสดงรายการการเปลี่ยนแปลงมากมายในชีวิตส่วนตัวและการทำงานที่มีอันเป็นผลมาจากเทคโนโลยีสารสนเทศที่แพร่หลาย แต่สิ่งเหล่านี้จะเห็นได้ชัดเจนแล้ว ดังนั้นจึงไม่จำเป็นต้องพูดถึงที่นี่
สิ่งหนึ่งที่สำคัญมากที่มีความสำคัญสำหรับนักการศึกษาที่จะเข้าใจคือการก้าวอย่างรวดเร็วของการเปลี่ยนแปลงในชีวิตการทำงานและการทะลักของความรู้ที่ได้มาในปีที่ผ่านมาระหว่างทศวรรษสุดท้ายของศตวรรษที่ผ่านมาและในวันนี้

เด็กๆที่เกิดมาตั้งแต่ช่วงเริ่มต้นของศตวรรษที่ 21 ถือเป็น ประชากรยุคดิจิตัล ซึ่งเติบโตขึ้นมาในโลกที่พรั่งพร้อมด้วยเทคโนโลยีรอบตัว

แล้วครูของเด็กๆเหล่านี้ล่ะ?

มีไม่มากนักที่เป็นประชากรยุคดิจิทัล ส่วนมากแล้วจะถือเป็น ผู้อพยพยุคดิจิทัลมากกว่า พวกเขาจำเป็นต้องเรียนรู้ที่จะใช้ชีวิตและทำงานให้ได้ในยุคสมัยของเทคโนโลยี การใช้เครื่องมือที่มีอายุเป็นตัวแบ่งให้ไม่อาจเข้าใจได้ง่ายกันทั่วถึงทุกคน ครูเองก็เป็นหนึ่งในนั้น แต่อย่างไรก็ตาม ต้องยอมรับว่าเพียงแค่คนบางส่วนเท่านั้นนั้นที่มีไหวพริบมากพอจะเรียนรู้ภาษาอื่นนอกเหนือจากภาษาแม่ที่ตนใช้อยู่ หลักการเดียวกับที่ว่าเพียงบางกลุ่มบางคนเท่านั้นที่มีความสามารถที่จะเรียนรู้ “ภาษา” ของยุคดิจิตัลได้มากพอจะเข้าใจที่จะทำให้เครื่องมือเหล่านั้นเหมาะสมสำหรับครู

ลองนึกถึงเหตุการณ์สมมุติว่า ครูมัธยมคนหนึ่งไม่รู้จักวิธีใช้อีเมลล์ ไม่สามารถค้นข้อมูลในอินเทอร์เน็ทได้ ใช้สไกป์ไม่เป็น ไม่รู้จักเฟสบุ้ค ครูคนนั้นจะสามารถเข้าใจถึงความต้องการที่แท้จริงของนักเรียนที่ครูคนนั้นสอนอยู่ได้อย่างไร ครูคนนั้นจะเข้าใจโลกของนักเรียนของตนได้อย่างไร และสุดท้าย ครูจะรู้จักนักเรียนของตัวเองมากพอที่จะสามารถสอนเด็กคนนั้นได้อย่างไร?

ครูเหล่านั้นก็เหมือนกับครูที่ถูกจ้างให้สอนภาษาต่างประเทศให้เด็ก ในขณะที่จริงๆแล้วครูคนนั้นไม่สามารถพูดภาษานั้นได้ด้วยซ้ำ ครูถูกผลักให้เข้าไปอยู่ในสถานณการณ์ที่เป็นไปไม่ได้โดยผู้จัดทำหลักสูตรที่นำเข้ามาโดยไม่มีการพัฒนาครูให้มีความรู้ความสามารถในภาษาใหม่นี้ก่อน

คุณรู้จักครูแบบนี้บ้างไหม? เคยทำงานร่วมกับอาจารย์เหล่านี้หรือเปล่า? ชั่วโมงเรียนของพวกเขาเป็นอย่างไร? ความสัมพันธ์ระหว่างครูและนักเรียนเป็นอย่างไร?

ผู้เขียนค่อนข้างมั่นใจว่า ในประเทศไทย เราสามารถพบครูเหล่านี้ได้ทั่วไปในโรงเรียน

คุณครูผู้ไม่อาจปรับตัวเข้ากับยุคสมัยใหม่ได้ไม่ควรต้องถูกตัดสินว่าผิดหรือถูกมองข้าม พวกเขาควรและต้องได้รับการช่วยเหลือทุกด้านเท่าที่จะเป็นไปได้จากเพื่อนร่วมงานและผู้บัญชาการเพื่อให้พวกเขามีความมั่นใจที่จะให้เทคโนโลยีสารสนเทศข้ามาปรับปรุงการเรียนการสอน

ตรงข้ามกับตัวอย่างข้างบนเกี่ยวกับผู้ที่เพิ่งก้าวเข้าสู่โลกดิจิทัล นักเรียนผู้เป็นประชากรยุคดิจิทัลในศตวรรษที่ 21 ควรได้รับวิธีการสอนและหลักสูตรวิชาที่เหมาะสมกับโลกและเวลาในยุคของเขา ความต้องการนี้ไม่ได้ถูกกำหนดโดยผู้ดูแลหรือรัฐบาลอย่างเช่นตัวอย่างเรื่องการเรียนการสอนภาษาต่างประเทศที่ยกมาก่อนหน้า มันมาจากการขยายตัวของเทคโนโลยีสารสนเทศที่พัฒนาอย่างรวดเร็ว ดังนั้นรัฐจำเป็นต้องจัดการระบบการศึกษาของประเทศเพื่อตอบสนองต่อความเปลี่ยนแปลงนี้

ในกรณีของประเทศไทย รัฐบาลกำลังอยู่ในขั้นเริ่มต้นจากนโยบาลมอบแท้ปเล็ตให้กับนักเรียนมัธยมศึกษาปีที่ 1 ซึ่งเป็นสิ่งที่น่าชื่นชมสำหรับก้าวใหญ่ของการจัดหาเครื่องมือดิจิตอลที่สำคัญให้กับนักเรียนไทย

การพัฒนาในขั้นต่อไปจากจุดนี้จะไม่สามารถบรรลุผลขั้นสูงสุดได้หากปราศจากขั้นตอนการฝึกสำหรับครูให้สามารถใช้เครื่องมือนี้ได้ หากทำได้มันจะเป็นตัวสนับสนุนสำคัญสำหรับการศึกษาแบบผู้เรียนเป็นศูนย์กลางในประเทศไทย

SCLประเทศไทยจะจับตาดูการเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้นต่อจากนี้และให้รัฐบาลเดินหน้าขั้นต่อไปกับนโยบายนี้

Categories
articles Featured Articles

Teaching for Understanding : Article 1การสอนเพื่อความเข้าใจ : ตอนที่ 1

Teaching for Understanding

An Introduction

for

Thai teachers

Shifting the Educational Paradigm  to Student Centered Teaching and Learning

Article:1

Greg Cairnduff

By Greg Cairnduff, 

Director The Australian International School of Bangkok 

January  2012  

 

 

 

Introduction

This article is a  contribution to the  discussion about moving Thai education  from rote learning as the pedagogical norm, towards a pedagogy that is student-centered  and one that  will enhance the capacities of Thai students going into  the 21st Century workforce.

This is the first of a series of three articles on the basics of the methodology known as Teaching for Understanding.

Educational Change is Not Easy to Achieve

The challenge of educational change is well documented  and demonstrated in the practical attempts at reform by education systems around the world. Evidence of reform efforts reveals one inescapable factor: large scale educational change is never easy, nor is it quick to achieve.

The Finnish education system is an outstanding example of a high performing, high quality system. But it should be noted that it took Finnish educators  least 15 years to develop their at system to its current level.

Systemic context is relevant to the pace of successful reform. For example, Finland’s context is one of a relatively small country of under 6 million people compared to Thailand’s population of 62 million. On this count alone, the contexts of the two systems are very different.

Educational Change in Thailand

Thailand has  a very large education system. To move from an old paradigm of education [20th Century model] to a new paradigm [21st Century model] in a system of over 35 000 schools is like turning a large ship around – it takes time and sea space; it can be slow, cumbersome, and hard to achieve in the short term.

Despite these contextual challenges, the shift to student-centered learning is the  shift that is essential for  students’ success in the 21st Century.  In the end it is teachers in the classrooms of Thai schools who have to actually bring about this big change.

What are some of the needs of 21st Century Education?

Students must be prepared differently to enter the Information Age [C21st] workforce than in the Industrial era. The main difference is  preparation related to knowledge work, the kind of work that more and more people will do in the 21st century.

If Thailand is to have workers with the necessary skills for these times, the nation must have an education system that focuses heavily on the skills required for this  century, particularly communication and computer skills

What Knowledge and Skills are required for the 21st Century?

Building knowledge and developing sets of skills have traditionally been considered the mainstays of education.

In the rapidly changing world, the acquisition of the standard skills of reading, writing and numeracy are no longer sufficient. Internationally, education systems are  looking at ways to prepare students for  jobs that involve complex thinking and communication skills. These are the knowledge work jobs of today and tomorrow that require complex skills, expertise and creativity.

What seems certain is that there are two sets of skills that are at the top of job requirements for 21st century work: The ability to quickly acquire and apply new knowledge and  know how to apply certain commonly required skills to all aspects of the workplace; such as  problem solving, communication, teamwork, technology and innovation.

Four powerful elements  are converging and leading towards new ways of learning for life in the 21st century.

These  are generally recognised as:

  • Knowledge work
  • Thinking tools
  • Digital lifestyles
  • Learning research.

The diagram  provides an  indication of how these four elements fit together.

Education Transitions


Knowledge Work

The Thai Education system faces increasing pressure to produce knowledge workers.

Internationally, corporations are making investments in global programs to attract graduates to the high technology fields and to train them in these fields. The Thai education system has to ensure that students are not at a disadvantage when these corporations are in the Thai or international market for knowledge workers. For example, Thai graduates have to compete with well educated graduates from India and China.

In the book, The Elephant and the Dragon: The Rise of India and China and What it Means for all of US, the author, Meredith writes “suddenly Americans must compete with much of the rest of the world for their jobs with much of the rest of the world “ [1] This comment emphasises the same for Thailand – Thai workers are competing with Indian and Chinese workers on the international job market.

Thinking Tools

The mental tasks of knowledge work involve accessing, managing, creating, and communicating information. These tasks are becoming easier and more efficient as digital tools for assisting with the tasks become increasingly sophisticated. Therefore, teaching in and learning in Thai schools has to move towards teaching students methods to help them organise their thinking, as well they need to use the digital tools available to them.

Digital Lifestyles

The terms “digital natives” and “digital immigrants” describe the divide that often exists between the students who are digital natives and their teachers, who are mostly digital immigrants. These digital natives [the students] and the digital immigrants [the teachers], must be able to work together. It is likely that it is the teachers who have to change the most.

Traditional Teaching

Studies of traditional teaching practices reveal numerous and persistent pitfalls. Too frequently students can’t remember what they have learnt or don’t understand the material well enough to apply it in different situations.  Regular classroom activities are often too routine to promote understanding.

The spelling drills, true-and-false quizzes, arithmetic exercises and conventional essay questions so common in the teacher-led classroom, promote the learning of knowledge, but limit the versatility of the skills.  The development of knowledge and routine skills are important, but what students learn is superficial and often remains inert, students are unable to apply their knowledge, or recognize opportunities to do so.

Educators must provide alternate applications for the theory and real-world examples. Learning experiences where students can apply their new knowledge and understanding outside the academic context, and

Teaching for Understanding

The approaches to developing understanding in students as used in many parts of the world  are  often based on the work of Project Zero at the Harvard Graduate School of Education. Faculty members at the Harvard Graduate School of Education collaborated with many experienced teachers and researchers to develop, test, and refine this approach for effective teaching.

It is strongly recommended that readers refer to the web site at:

http://www.uknow.gse.harvard.edu/teaching/TC3-1.html

Teaching for Understanding is based on the premise that students who understand information are more flexible with their knowledge.

What is Understanding?

The term understanding denotes a variety of mental processes, states and structures.

  • Understanding refers to the ability appreciate the nature, significance, or explanation of a concept and apply these concepts appropriately (Merriam-Webster Collegiate Dictionary, 2002).
  • Understanding implies to the ability to make connections between facts [knowledge] and relating newly acquired information, to that which is already known and integrating knowledge into a cohesive whole so that ideas and concepts are understood.

The Need to Develop Understanding in the Teaching and Learning Process

Educators and students find themselves in the middle of an information explosion and a rapidly changing world.  The increased body of information proves problematic for teaching and learning. It is no longer feasible for students to memorize all the facts and figures that come at them on a daily basis.  Instead, teachers need to work with students to develop their ability to understand concepts and principles that will permit them to operate in the rapidly evolving world.

Researchers and educational reformers have worked collaboratively to develop a definition of understanding and identify approaches to teaching that develop skills and improve student understanding.

Developing Understanding  

Students’ ability to understand the world needs to be developed so they are able to adapt to new situations and apply their understanding to enable them to solve  problems.

The application of skills and knowledge beyond the classroom requires more than just the ability to do the task. It requires understanding of concepts and big ideas.

In Thailand [and not only Thailand] most of the current teaching practice has students acquiring knowledge and routine skills without necessarily any real understanding of the concepts and reasons which underpin the acquired knowledge. Often students know how to do something, but they have no depth of understanding of the processes and outcomes of what they are doing.

For example, students may know how a car can be driven so that it moves, but do they understand the chemistry and physics in causing this to happen?

In looking at an issue for example, the environment, it is necessary to have an understanding of the internal combustion engine in order to make judgments about the impact of the car on the environment.

Implications for Thai teachers

The challenge for Thai teachers is to move their practice from mainly teaching and testing the acquisition of knowledge to teaching students to think, ask questions, and develop deep understanding of the knowledge they acquire and rather than testing knowledge,  assessment ought to part of the learning process.

Articles presented in http://www.SCLThailand.org earlier by Ellen Cornish and Dr Don Jordan [December, and September October 2011] provide practical examples of how teachers can plan for this type of teaching.  

Article 2 in this series on Teaching for Understanding in February, will suggest ways teachers can enhance the development of deep understanding.


[1] Meredith, R. The Elephant and the Dragon: The Rise of India and China and What it Means for all of US New York, Norton, p190


Categories
Featured Articles Op Ed

Getting Down to Brass TacksGetting Down to Brass Tacks

Getting Down to Brass Tacks:

Making Student -Centered Learning Work in Thailand

Starting at the Teachers Colleges

There seems to be a common consensus among educators that teachers colleges throughout Thailand need to be doing more in order to prepare future teachers to meet the challenge of fulfilling the mandates of the Education Act of 1999.  The purpose of these remarks is to spark debate on what exactly teachers college are now doing and what more they need to do to prepare pre-service Thai teachers.

My hypothesis is that a major reason for the delay in the actualization of the goals of the Education Act of 1999 is a lack of rigor in the curriculum and instruction at many of Thailand’s teachers colleges. This reason coupled with the lack of incentives to attract the best Thai students to become teachers are the main obstacles blocking Thailand’s path to excellence in public education.

I wonder how much we know about the effectiveness of our teachers colleges in Thailand.

What research has been done in Thailand on the effectiveness of teachers colleges?  What are the teaching methods used by professors at teachers colleges?  Since the Education Act of 1999 was put into effect, what demonstrable progress has been made at teachers colleges to meet the challenges of training teachers in the digital age?

Since student centered learning is at the heart of the Education Act , we also need to answer the question of what part student-centered learning plays in today’s teachers colleges curriculum.   Before we begin to talk about lapses in today’s curriculum, let me make clear two preliminary points:

1.  student- centered learning does not mean teachers exclude from their teaching methods direct teaching to the whole class.  There is an appropriate time for the teacher to explain a principal or concept or group of facts and this time is after students have wrestled with a concept ,and

2. Student- centered learning should use cognitive science research results in order to take full advantage of providing students with optimal learning environments.

Let’s look first at all the ways that teachers have at their disposal to teach a class.

How People Learn

FIGURE 1.1 With knowledge of how people learn, teachers can choose more purposefully among techniques to accomplish specific goals. From How People Learn(National Science Foundation)

As I suggested previously, direct teaching, that is “teaching by telling” does have a place in student -centered teaching.   Many educators do not understand that lectured based teaching does have an important place in student centered learning; the key is knowing when, how long an explanation is necessary and in what order “teaching by telling” is most effective.

In sum, the mastery of teaching is knowing the proper order in which to use the methods in the chart above based on the particular subject matter. Different subjects require different approaches to learning as well. For example , in teaching science the teacher is likely to choose more often from the inquiry based choices above in planning lessons.

I am most concerned that teachers colleges in Thailand may not be adequately teaching future teachers how to use cognitive science research findings in how people learn in the design of their lessons.  I will just mention three core learning principles based on solid research as illustrative, principles explained fully in How People Learn ( National Science Foundation 2000).**

Let’s take what we know about long term memory. Students have preconceived notions about a subject for study.  Effective teaching starts with students’ preconceptions and confirms them, rejects them and modifies or replaces these preconceptions.

Second, learning is enhanced when students form concepts that are personally meaningful, that is putting the organization of learning into a framework or schema.

Thirdly, learning is optimized when students are taught to use “metacognitive” strategies.  These strategies include: sense making, self assessment and reflection on what worked or needs improvement.

Applying these and other research findings to the classroom is essential so that the teacher has an understanding of the learner, including his cultural differences and preconceived ideas of the subject matter; pays attention to “what is taught, why it is taught and what mastery of the subject look like”;and makes formative assessments, on-going assessments designed to make students’ thinking “visible to both teachers and students.”  ( How Students Learn, p.24)

Of course , the first step should be to make teachers competent and expert in their chosen field.*** At the same time , the professors at the teachers colleges should be modeling teaching for understanding , that is , demonstrating constantly what a student-centered classroom looks like. One design that might be considered at teachers colleges is to spend the first two years acquiring an expert knowledge of their chosen field and the final two years learning how to apply that knowledge and understanding to teaching.  The keys to success would be producing lesson plans of excellence using research on how people learn and applying the research in effective ways in practice teaching.

These core learning principles and what needs to be done to apply them,  scratch the surface of what teachers need to know; nevertheless, it may serve to start a dialogue of what really needs to be done at teachers college to bring a high level of learning for understanding to schools across the Kingdom of Thailand.

** we strongly recommend reading How People Learn: Brain, Mind, Experience and Schools (2000) which can be downloaded free at:   http://www.nap.edu

***  To develop competence in an area of inquiry, students must: (a) have a deep foundation of factual knowledge, (b) understand facts and ideas in the context of a conceptual framework, and (c) organize knowledge in ways that facilitate retrieval and application.

 ให้การเรียนแบบมีนักเรียนเป็นศูนย์กลางได้ผลจริงในประเทศไทย

เริ่มต้นที่วิทยาลัยครู

ดูเหมือนว่าจะมีความเห็นเป็นเอกฉันท์ในหมู่นักการศึกษาว่าวิทยาลัยครูจะต้องมีบทบาทมากขึ้นเพื่อการเตรียมตัวบุคลากรครูในอนาคตให้บรรลุถึงความท้าทายตามวัตถุประสงค์ของพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติพุทธศักราช 2542 จุดประสงค์ของมติเหล่านี้คือเพื่อจุดประกายการอภิปรายว่าสภาพที่แท้จริงของวิทยาลัยครูปัจจุบันเป็นอย่างไรและอะไรที่ต้องเพิ่มขึ้นมาเพื่อการเตรียมพร้อมในการสอนแก่ครูในอนาคตของประเทศไทย

สมมุติฐานของผู้เขียนนั้น เหตุผลหลักของความล่าช้าในการบรรลุเป้าหมายของการปฏิรูปการศึกษาตามประราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติปี 2542 คือการขาดแคลนหลักสูตรและความพร้อมในวิทยาลัยครูหลายแห่งในประเทศไทย ควบคู่กับความขาดความสามารถในการสร้างแรงจูงใจให้นักศึกษาไทยที่มีความสามารถสูงต้องการจะมาเป็นครูอันเป็นอุปสรรคสำคัญที่ขัดขวางต่อการพัฒนาการศึกษาของประเทศไทย

ผู้เขียนสงสัยว่าพวกเรารู้จักความสามารถและประสิทธิภาพของวิทยาลัยครูในประเทศไทยมากน้อยเท่าใด

มีงานวิจัยในประเทศไทยเกี่ยวกับประสิทธิผลของการเรียนการสอนของวิทยาลัยครูบ้างไหม? วิธีการเรียนการสอนที่คณาจารย์ในวิทยาลัยครูใช้สอนนักศึกษาเป็นอย่างไร? นับแต่พระราชบัญญัติการศึกษาปี 2542 มีผลบังคับใช้ มีความเปลี่ยนแปลงอะไรบ้างเกิดขึ้นที่วิทยาลัยครูเพื่อสอบสนองต่อความท้าทายของการฝึกหัดครูในยุคปัจจุบัน?

เนื่องจากการเรียนรู้โดยมีผู้เรียนเป็นศูนย์กลางเป็นหัวใจหลักของพระราชบัญญัตินี้ พวกเรายังต้องตอบคำถามว่าการเรียนรู้โดยมีผู้เรียนเป็นศูนย์กลางถูกบรรจุไว้ในส่วนใดของหลักสูตรการเรียนการสอนของวิทยาลัยครูปัจจุบัน ก่อนที่เราจะเริ่มพูดถึงหลักสูตรการเรียนในปัจจุบัน ผู้เขียนขอทำความเข้าใจกับสองประเด็นหลักใหญ่ดังนี้

  1. การเรียนรู้โดยผู้เรียนเป็นศูนย์กลางไม่ใช่หมายความว่าครูไม่มีบทบาทในการเรียนการสอนโดยตรงจากครูสู่นักเรียนทั้งชั้น มีเวลาที่เหมาะสมที่ครูต้องเป็นผู้อธิบายหลักการหรือแนวคิดหรือข้อเท็จจริง ซึ่งก็คือช่วงเวลาที่นักเรียนกำลังพยายามทำความเข้าใจกับบทเรียน และ
  2. การเรียนรู้โดยผู้เรียนเป็นศูนย์การควรใช้ผลการวิจัยทางวิทยาศาสตร์เพื่อนำมาปรับใช้ในการสอนเพื่อสร้างสิ่งแวดล้อมที่เหมาะสมต่อการเรียนรู้ของนักเรียน

เริ่มจากการดูวิธีการเรียนรู้ที่ครูสามารถนำมาใช้เพื่อสอน

How People Learn

ภาพ 1.1 ด้วยความรู้เรื่องการเรียนรู้ของมนุษย์ ครูสามารถเลือกเทคนิคที่ตรงกับความต้องการเพื่อให้ได้ผลที่สุด

เช่นที่ผู้เขียนแนะนำไว้ก่อนหน้านี้ การสอนโดยตรง ซึ่งก็คือ “การสอนโดยการบอกเล่า” มีบทบาทในการสอนแบบนักเรียนเป็นศูนย์กลาง นักการศึกษาจำนวนมากไม่เข้าใจว่าการสอนแบบการบรรยายมีบทบาทความสำคัญในการเรียนรู้โดยนักเรียนเป็นศูนย์กลางนี้ด้วย กุญแจสำคัญอยู่ที่ การรู้ว่าเมื่อไหร่และเท่าไหร่ที่การอธิบายนั้นจำเป็นเพื่อให้การสอนโดยการบอกเล่ามีประสิทธิภาพมากที่สุด

กล่าวโดยสรุป ความรอบรู้ของการสอนคือการรู้ที่ถูกต้องเพื่อที่จะใช้วิธีต่างๆตามตารางข้างบนโดยจำแนกตามพื้นฐานของแต่ละวิชา รายวิชาแตกต่างกันต้องการวิธีในการเรียนรู้ต่างไปเช่นกัน ยกตัวอย่างเช่น การสอนวิชาวิทยาศาสตร์ควรจะเลือกวิธีสอบถามมากกว่าวิธีอื่นๆ

ผู้เขียนกังวลที่สุดคือวิทยาลัยครูในประเทศไทยอาจไม่นำการใช้ผลลัพธ์ทางวิทยาศาสตร์เกี่ยวกับวิธีการเรียนรู้ของมนุษย์มาใส่ในหลักสูตรการสอนอย่างเพียงพอ ผู้เขียนจะกล่าวถึงหลักการเรียนรู้ที่สำคัญสามประการ

เริ่มพิจารณาถึงความทรงจำระยะยาว ผู้เรียนมีข้อสังเกตเกี่ยวกับหัวข้อวิชาที่เรียน การสอนจะได้ผลเริ่มจากการที่ผู้เรียนมีกรอบความคิดของตนเองในวิชาที่ศึกษาและมีความคิดสนับสนุน, คัดค้าน และปรับแก้หรือแทนที่สิ่งที่ได้เรียนรู้นั้น

ประการที่สอง การเรียนรู้จะได้ผลเมื่อผู้เรียนใช้แนวความคิดของตนเองและสร้างองค์ความรู้ขึ้นมา

ประการที่สาม การเรียนรู้มีความเหมาะสมเมื่อผู้เรียนถูกสอนให้ใช้ทฤษฎี “ความเข้าใจสำคัญ” ซึ่งประกอบด้วย การสร้างความรู้สึก, การประเมินตนเองและสะท้อนกลับไปในงานหรือสิ่งที่ต้องปรับปรุง

การประยุกต์สิ่งเหล่านี้กับผลการวิจัยอื่นเข้ามาในชั้นเรียนเป็นสิ่งจำเป็นเพื่อที่ครูจะมีความเข้าใจในตัวผู้เรียน รวมถึงความแตกต่างทางวัฒนธรรมและแนวคิดของรายวิชา; ให้ความสำคัญกับ “สอนอะไร, ทำไมต้องสอนและความรู้จะไรที่จะได้จากวิชานี้”; และมีการประเมินระหว่างการดำเนินการหรือระหว่างการสอนเพื่อให้นักเรียนคิดว่า “จับต้องได้ทั้งผู้สอนและผู้เรียน” (How Students Learn, p.24)

แน่นอนว่าขั้นตอนแรกควรเป็นการสร้างให้ครูผู้สอนมีความรู้ความเชี่ยวชาญในรายวิชาที่สอน*** และในเวลาเดียวกัน ผู้สอนในวิทยาลัยครูควรสร้างแบบจำลองการสอนเพื่อความเข้าใจ กล่าวคือ การสาธิตลักษณะห้องเรียนแบบการเรียนโดยมีนักเรียนเป็นศูนย์กลางอย่างสม่ำเสมอ สิ่งหนึ่งที่อาจได้รับการพิจารณาที่วิทยาลัยครูคือการใช้เวลาสองปีแรกหาความรู้ในรายวิชาที่เลือกและสองปีที่เหลือให้เรียนรู้วิธีที่จะประยุกต์เอาความรู้เหล่านั้นมาถ่ายทอด กุญแจของความสำเร็จคือการสร้างแผนการสอนที่ดีโดยใช้การวิจัยเกี่ยวกับวิธีการเรียนรู้ของมนุษย์เข้ามาประยุกต์ใช้เพื่อให้การฝึกฝนได้ผลในทางปฏิบัติ

หลักการเรียนรู้ที่สำคัญและวิธีการประยุกต์เหล่านี้เป็นสิ่งเล็กๆที่ครูทุกคนต้องรู้ อย่างไรก็ดี มันอาจเป็นการเริ่มต้นของการพูดคุยกันว่าวิทยาลัยครูจะต้องทำอย่างไรเพื่อยกระดับการเรียนรู้เพื่อความเข้าใจไปสู้โรงเรียนทุกแห่งในประเทศไทย

**ขอแนะนำให้อ่าน How people Learn: Brain, Mind, Experience and School (2000) ซึ่งสามารถดาวน์โหลดอ่านได้ฟรีที่ http:www.nap.edu

***เพื่อพัฒนาความสามารถในการเรียนรู้แบบสอบถาม ผู้เรียนต้องมี (a) พื้นฐานความรู้ที่ลึกซึ้งในวิชาที่เรียน (b) เข้าใจข้อเท็จจริงและแนวคิดในเนื้อหา และ (c) จัดการองค์ความรู้ที่มีเพื่อสามารถนำมาประยุกต์ใช้ได้

Categories
articles Featured Articles

Student Centered Learning: A Case for Integrated Learning Classroomsการเรียนรู้แบบนักเรียนเป็นศูนย์กลาง – กรณีศึกษาห้องเรียนการเรียนรู้แบบบูรณาการ


Ms Ellen Cornish and Dr Don W Jordan

Our classroom experience has shown us that the many benefits of moving away from rote learning to an integrated learning classroom, is that skills, values and understandings can best be taught and assessed within meaningful ‘connected’ contexts. Based on our understanding of students’ needs, interests, prior knowledge and experience, we planned a set of broad understandings to help frame our unit of work. These understandings – though specific to the topic – incorporated some of the    key concepts that students explore with increasing sophistication as they move through school.  The following is an example of what our classroom planning and teaching towards enhancing understanding in an integrated classroom looks like, sounds like, and feels like, together with a suggested unit of work on the human body, feel good feel great.

Integrated learning advantages teachers and students by:

·         Reflecting, more closely, the interdependence between all aspects of life in the real world

·         Challenging learners to use and develop their thinking as they work to make connections and see the ‘big picture’

·         Catering to the various learning styles and preferences held by students

·         Managing an increasing crowded curriculum

·         Meeting outcomes in context

·         Making more ‘sense’ to the school day – as activities have stronger links with each other

·         Providing students with a greater degree of control over learning

·         Encouraging staff to plan and work in teams

·         Structuring a meaningful context for the teaching and assessment of outcomes across key learning areas

·         Enabling students to transfer knowledge, skills and values across content and experiences

·         Skilling students to process and respond to experience in a range of ways

·         Linking purposes with activities more explicitly

·         Enriching understanding, enjoyment and reflection in teaching and learning.

The essence of this approach to planning is the relationship between those learning areas concerned with ‘the world around us’ (science, technology, health, and environmental and social education) and those areas through which we explore and come to understand that world (language, mathematics, art, drama, dance, music and aspects of technology.  Kath Murdoch (2003, P.1)

 

Creating an Integrated Classroom

 

An Integrated Classroom

Connects Prior Learning to New Learning

 

 

Fosters Reflective Practices

Makes Learning Meaningful

Recognises Individual Differences

Looks like

 

  • Teachers working / planning collaboratively.
  • Desks arranged in clusters of 4-6.
  • Activity centres with work space and resources.
  • Wall displays of student work and instructional material.
  • Comfortable reading space. (Cushions and books).

  • Smiling faces.

 

  • Tuning in activities using various graphic organisers e.g. what I know, what I would like to know etc.
  • Teacher assessment. (formative, summative).

 

  • Teacher and student created rubrics.
  • Students displaying their learning in a number of ways, e.g talking, writing, art, drama etc.

 

  • Relevant and up to date resources.

 

  • Adequate work spaces for students.
  • Curriculum relevant to student needs and interests.

 

  • Classroom program arranged to allow students to find space and resources. Allowing the teacher to give time and encouragement to students in order to demonstrate their learning across curriculum areas.
  • Learning program developed so that students can enter at their level and be extended and challenged.

Sounds like

 

  • Students discussing and helping each other.
  • The teacher interacting with individuals and groups.
  • Students confidently sharing their learning with the class through speaking, writing, drama, music, art.

 

 

 

 

 

 

  • Students being able to discuss their understandings and to make connections.

 

 

 

 

 

 

  • Students confidently explaining, discussing their learning with peers, teacher and parents.

 

 

 

 

  • Teacher making learning objectives clear.
  • Opportunities for students to takes risk in sharing their learning.

 

 

 

 

  • The sound of discussion between students and between students and teacher.
  • Students sharing the learning with peers, parents and teacher.

 

Feels like

  • Warm and safe to share confidently.
  • To ask questions and give opinions.
  • Inviting and feeling part of the group.

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

  • Warm and safe to share confidently.
  • To ask questions and give opinions.
  • Inviting and feeling part of the group.

 

 

 

  • Warm and safe to share confidently.
  • To ask questions and give opinions.
  • Inviting and feeling part of the group.

 

  • Students feeling confident to share their understandings with others.

 

 

 

 

 

 

  • Supportive environment so students feel comfortable to give thoughts and opinions.

 

 

 

 

 

 

 

 

References

Murdoch, K. (2003), Classroom Connections; Strategies for Classroom Learning. Australia: Publishing Solutions.

 

Glossary

Overarching Goals: Goals which overshadow the whole topic.

Tuning In: Finding out what the students already know about the topic, as well as what they would like to find out in order to stimulate their interest and enthusiasm for the topic.

Brainstorm: group discussion and sharing of ideas.

Guiding Questions: questions related to the topic which promote thought as well as refining the investigation to be undertaken.

Graphic Organiser: Charts which help visually organise information (there are many examples, including Y charts, T charts, fish bones, placemats, concept maps, flow charts etc. on the internet)

Rubrics: Teacher or student generated charts based on the topic being studied to assist with self-assessment.

Formative Assessment: Teacher assessment, as well as student self-assessment which can be demonstrated through drama, oral presentations, written material, information technology, art and craft etc.

Summative Assessment: System and school based testing.

Culmination: The final part of the topic where students demonstrate their understandings using a variety of methods including drama, information technology, oral presentations, written material, art and craft etc.

 

 

 

 

โดย Ellen Cornish  และ  Dr Don W Jordan

จากประสบการณ์ในชั้นเรียนของเราได้แสดงให้เราเห็นว่าประโยชน์ของการเปลี่ยนการเรียนการสอนจากแบบท่องจำ มาเป็นการเรียนแบบบูรณาการในชั้นเรียนนั้น ไม่ว่าจะเป็นด้านทักษะ ด้านคุณค่าแห่งการเรียนรู้ และความเข้าใจ ก็จะสามารถประเมินได้อย่างมีเหตุมีผล และ “เชื่องโยง” กับเนื้อหา ทั้งนี้การเรียนแบบนี้จะต้องขึ้นอยู่กับความเข้าใจในนักเรียนของเรา ทราบถึงความต้องการของนักเรียน ความสนใจ ประสบการณ์และความรู้เบื้องต้นที่นักเรียนมีมาเป็นพื้นฐาน เราจะต้องวางโครงร่างความเข้าใจเพื่อช่วยในการวางแผนการสอน ความเข้าใจนี้เป็นไปตามหัวข้อเรื่องที่จะเรียนแต่ประสานร่วมกับประเด็นสำคัญที่นักเรียนจะสามารถเปิดโลกทัศน์ได้ตามความสนใจของนักเรียน กรณีต่อไปนี้เป็นตัวอย่างที่ดีเกี่ยวกับการวางแผนห้องเรียนและวางแผนการสอน โดยเน้นและให้ความสำคัญกับความเข้าใจ ระบุให้เห็นว่าในการเรียนการสอนแบบบูรณาการควรจะมีหน้าตา ลักษณะอย่างไร พร้อมกันนั้นกรณีศึกษานี้ได้ให้แบบเสนอแนะเกี่ยวกับเรื่องอากับกิริยาของนักเรียน เมื่อรู้สึกใช่ รู้สึกดี ไว้ด้วย

การเรียนรู้แบบบูรณาการสามารถพัฒนาครูและนักเรียนได้จาก

·         การสะท้อนภาพให้เห็นอย่างชัดเจนขึ้น โดยคำนึกถึงแง่มุมต่างๆในชีวิตและในโลกความเป็นจริง

·         ท้าทายให้ผู้เรียนได้ใช้และพัฒนาทักษะการคิด ในขณะที่ผู้เรียนเรียนรู้เพื่อเชื่องโยงให้เห็น “ภาพรวม”

·         เหมาะสมกับผู้เรียนหลากหลายรูปแบบและสามารถจัดการเรียนรู้ได้ตามความชื่นชอบของนักเรียน

·         การจัดการหลักสูตรที่หนาแน่นขึ้นได้

·         บรรลุผลลัพธ์จากเนื้อหา

·         ชีวิตประจำวันในโรงเรียนดูมีความ ”เข้าท่า” มากขึ้น เนื่องจากกิจกรรมต่างๆ เชื่องโยงกันมากขึ้น

·         การให้นักเรียนสามารถควบคุมการเรียนรู้ของตัวเองได้มากขึ้น

·         สนับสนุนให้เจ้าหน้าที่ในโรงเรียนวางแผนและทำงานเป็นทีม

·         การจัดโครงสร้างเนื้อหาที่มีความสมเหตุสมผลสำหรับครูและการประเมินวัดผลของผลที่ได้รับกับพื้นที่การเรียนรู้ที่หลากหลาย

·         นักเรียนสามารถแลกเปลี่ยนความรู้ ทักษะและคุณค่าของความรู้จากเนื้อหาและประสบการณ์

·         สร้างทักษะนักเรียนให้พัฒนาและตอบสนองกับประสบการณ์ต่างๆ ได้หลากหลาย

·         เชื่องโยงวัตถุประสงค์กับกิจกรรมได้อย่างชัดเจนขึ้น

·        การเกิดความเข้าใจที่สมบูรณ์ รู้สึกสนุกและสามารถสะท้อนภาพการเรียนการสอนได้

หัวใจสำคัญในการวางแผนการสอนตามแนวทางนี้คือการจัดความสัมพันธ์ที่เชื่องโยงระหว่างสิ่งที่เกี่ยวข้องกับสิ่งที่เรียนกับ “โลกรอบตัวเรา” (วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี สาธารณสุข และสิ่งแวดล้อม และสังคมศึกษา) และพื้นที่อื่นๆ ที่เรามีส่วนเกี่ยวข้องหรือโลกที่เราต้องเข้าใจ (ภาษา คณิตศาสตร์ ศิลปะ ละคร ดนตรี และแง่มุมของเทคโนโลยี) Kath Murdoch (2003, P.1)

การสร้างชั้นเรียนแบบบูรณาการ

ชั้นเรียนแบบบูรณาการ

เชื่องต่อความรู้เดิมกับความรู้ใหม่

 

 

กระตุ้นให้เกิดการคิดแบบสะท้อน

ทำให้การเรียนรู้มีความหมาย

ตระหนักถึงข้อแตกต่างของแต่ละคน

มีลักษณะอย่างไร

 

  • ครูทำงานและวางแผนร่วมกับนักเรียน
  • จัดโต๊ะและเก้าอี้เป็นกลุ่มย่อย 4-6 โต๊ะ
  • ความสนใจมุ่งไปที่ชิ่นงานหรือแหล่งเรียนรู้
  • ผนังห้องโชร์ผลงานนักเรียนและสื่อเสนอให้เห็นโครงสร้างต่างๆ
  • มีพื้นที่การอ่านที่น่าใช้งาน (โชฟาและหนังสือต่างๆ)

 

  • หน้าตายิ้มแย้มแจ่มใส

 

  • ปรับเข้าสู่กิจกรรมหรือชิ้นงานด้วยวิธีการต่างๆ เช่น อะไรที่นักเรียนทราบแล้ว หรือ อะไรที่นักเรียนต้องการรู้

 

 

  • การประเมินจากครูแบบไม่เป็นทางการ และแบบสรุปความ
  • นักเรียนและครูสร้างโครงร่างระบบการเรียนรู้ร่วมกัน
  • นักเรียนแสดงออกว่ากำลังเรียนรู้ในหลากหลายวิธี เช่น พูด เขียน วาด หรือเล่นละคร

 

  • มีสื่อและแหล่งเรียนรู้ที่ทันสมัยและเหมาะสมกับเนื้อหา

 

  • นักเรียนมีพื้นที่ในการเรียนรู้และทำงานที่เหมาะสม
  • หลักสูตรเชื่องโยงและเกี่ยวข้องกับความต้องการและความสนใจของนักเรียน
  • การจัดการห้องเรียนอนุญาตให้นักเรียนสามารถหาแหล่งเรียนรู้ได้ อนุญาตให้ครูสามารถให้เวลากับนักเรียน และสามารถกระตุ้นให้นักเรียนแสดงออกถึงการเรียนรู้ของเขาในแง่มุมต่างๆ ของหลักสูตร
  • หลักสูตรการเรียนรู้ที่มีการพัฒนา เพื่อให้นักเรียนได้เรียนในระดับของตน และได้การท้าทายจากหลักสูตรในเวลาเหมาะสม

มีโสตสำเนียงอย่างไร

 

  • นักเรียนแสดงความคิดเห็นและช่วยเหลือกัน
  • ครูมีปฏิสัมพันธ์กับนักเรียนเป็นรายบบุคคลและเป็นกลุ่ม
  • นักเรียนมีความมั่นใจในการแลกเปลี่ยนความรู้ในห้องผ่านการพูด เขียน ร้องเพลงหรือเล่นละคร

 

 

 

 

 

 

  • นักเรียนสามารถถกเถียงความเข้าใจ แลกเปลี่ยนกันและสร้างความเชื่องโยงได้

 

 

 

 

 

 

  • นักเรียนมีความมั่นใจในการอธิบาย แลกเปลี่ยนความรู้กับเพื่อนร่วมชั้น ครูและผู้ปกครอง

 

 

 

 

  • ครูชี้แจงวัตถุประสงค์ในการเรียนรู้ที่ชัดเจน
  • เปิดโอกาสให้นักเรียนโต้เถียงและแสดงความเห็นต่างเพื่อแลกเปลี่ยนการเรียนรู้

 

 

 

 

  • มีเสียงการแลกเปลี่ยนระหว่างนักเรียน และระหว่างครูกับนักเรียน
  • นักเรียนแลกเปลี่ยนการเรียนรู้กับเพื่อ ครูและผู้ปกครอง

 

ให้ความรู้สึกอย่างไร

  • บรรยากาศที่อบอุ่น ปลอดภัยในการแลกเปลี่ยนอย่างมั่นใจ
  • มีการถามคำถามและให้ความคิดเห็น
  • เชื้อเชิญและรู้สึกเป็นส่วนหนึ่งของกลุ่ม

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

  • บรรยากาศที่อบอุ่น ปลอดภัยในการแลกเปลี่ยนอย่างมั่นใจ
  • มีการถามคำถามและให้ความคิดเห็น
  • เชื้อเชิญและรู้สึกเป็นส่วนหนึ่งของกลุ่ม

 

 

 

  • บรรยากาศที่อบอุ่น ปลอดภัยในการแลกเปลี่ยนอย่างมั่นใจ
  • มีการถามคำถามและให้ความคิดเห็น
  • เชื้อเชิญและรู้สึกเป็นส่วนหนึ่งของกลุ่ม

 

 

  • นักเรียนรู้สึกมั่นใจในการแลกเปลี่ยนความเข้าใจของตนกับคนอื่น

 

 

 

 

 

 

 

 

  • บรรยากาศที่สนับสนุน ให้นักเรียนรู้สึกสบายในการแสดงความคิดและเสนอความคิดเห็น

 

 

 

 

 

 

 

 

หนังสืออ้างอิง

Murdoch, K. (2003), Classroom Connections; Strategies for Classroom Learning. Australia: Publishing Solutions.

 

อภิธานศัพท์

เป้าหมายครอบคลุม (Overarching Goals): เป้าหมายที่ครอบคลุมหัวข้อทั้งหมด

ปรับเข้าสู่บรรยากาศ  (Tuning In): ค้นหาว่านักเรียนรู้อะไรอยู่แล้วในหัวข้อนี้ ในขณะเดียวกันค้นหาว่านักเรียนต้องการอยากรู้อะไร เพื่อกระตุ้นให้นักเรียนสนใจและมีความกระตือรือร้นกับหัวข้อนั้น

ระดมสมอง (Brainstorm): การแลกเปลี่ยนในกลุ่มและวิพากท์เพื่อให้ได้ความคิดที่หลากหลาย

คำถามเชิงชี้แนะ (Guiding Questions): คำถามที่เกียวกับหัวข้อที่เรียนรู้ ที่ชี้แนะหรือสนับสนุนให้เกิดการคิด ค้นหา และการมีส่วนร่วมในการเรียนรู้

สื่อเสนอให้เห็นโครงสร้าง (Graphic Organiser): สื่อหรือกราฟหรือภาพประกอบที่ช่วยให้นักเรียนเห็นการจัดการเชิงรูปธรรม เช่น กราฟตัววาย Y กราฟตัวที T กราฟก้างปลา แผนที่โครงสร้าง ผังการจัดการ สิ่งเหล่าหาได้ไม่ยากในอินเตอร์เน็ท

โครงร่างระบบการเรียนรู้แบบรูบิค  (Rubrics): ครูหรือนักเรียนสร้างโครงร่างการเรียนรู้จากหัวข้อที่กำลังเรียนอยู่เพื่อช่วยประเมินตัวเองในกระบวนการเรียนรู้

การประเมินอย่างไม่เป็นทางการ (Formative Assessment): การประเมินผลของครูและนักเรียนในการประมเนตนเอง ที่สามารถทำได้โดยผ่านการแสดงออกเช่น การเล่นละคร การนำเสนอหน้าห้อง การผลิตงานเขียน หรืการใช้สื่อเทคโนโลยี รวมทั้งผ่านงานศิลปะต่างๆ

การประเมินแบบสรุปความ (Summative Assessment): การทดสอบโดยยึดระบบและตามกรอบของโรงเรียน

ประเด็นสำคัญที่สุด (Culmination): ส่วนสุดท้ายของหัวข้อที่นักเรียนจะแสดงออกถึงความเข้าใจของตัวเองโดยผ่านวิธีการต่างๆ เช่น การเล่นละคร การนำเสนอหน้าห้อง การผลิตงานเขียน หรืการใช้สื่อเทคโนโลยี รวมทั้งผ่านงานศิลปะต่างๆ

 

 

 


Categories
articles Featured Articles

Student-Centered Learning: Demystifying the Mythการเรียนแบบนักเรียนเป็นศูนย์กลาง : ทำความเข้าใจตำนานอย่างลึกซื้ง


OUR FEATURE ARTICLE FOR JULY 2011:

STUDENT-CENTERED LEARNING:

DEMYSTIFYING THE MYTH

Chutima Thamraksa


Teacher-centered or teacher-direct orientation has long been the focus of education in Thailand. This approach has placed an emphasis on rote learning or memorization rather than developing the thinking skills of learners. The drawback of the system is seen through the passive and dependent learners, who lack the skills to think critically and creatively. Recognizing this major drawback, the Ministry of Education has initiated a major  reform of the system—from the traditional teacher-centered to a student-centered approach—with the intention of producing competent, independent and life-long learners who can keep pace with global competition. However, due to the several changes that have occurred as a result of the implementation of this student-centered approach,  it leaves a number of teachers perplexed about their roles and the teaching pedagogy. This article attempts to unfold the puzzle by first giving a definition of the term and later on examining several aspects pertinent to the approach.

Introduction

The issue of student- or child-centered learning has been an explosion of interest among educators and school/college teachers in recent years. In fact, the term was not much recognized until the Thai National Education Act 1999 made it the key concept in the reform of education. This new approach, it is hoped, will maximize the potential of Thai people to cope with the increasing demands of the knowledge based economy and the world of  information and communication technology.

Even with this interest, however, there arises much confusion and mistrust of the pedagogical movement behind the new model. Some teachers view it as a threat to their long-time teacher-centered or teacher-front orientation, while some fear that the approach will lessen the significant role they play in class, i.e., as the importer of page 60 SLLT 2003 knowledge. Likewise, some students become sullen and hostile to this approach as can be seen from the remarks that were recently reported in the newspapers that “the child-centered approach is like ‘khwai’-centered approach.” Literally, the term ‘khwai’ in Thai refers to a large cow used to draw plows for farmers. When used in reference to people or ideas, it implies that the compared people or ideas are witless. By describing the child-centered approach as ‘khwai’-centered approach, it can be inferred that the approach is a disappointment; it does not help students to become  smarter but rather impedes their progress.  Such a criticism clearly  reflects the failure, not of the approach per se, but of the teachers’ misinterpretation, misuse and abuse of the concept.

Despite a substantial body of literature on student-centered learning, the majority of teachers, it can be said, are still skeptical of whether the approach can really enhance student learning quality. Much worse, teachers are uncertain of how and what they should do to implement the approach. A number of questions regarding the feasibility, viability and applicability of this teaching model are raised widely in the teaching community. As such, this paper will attempt to clarify and analyze the principles and aspects of student-centered learning through the most frequently asked questions in terms of this issue.

What Is Student-centered Learning?

Simply put, student-centered  learning is a model wherein students are placed in the core of the learning process. As such, students’ needs, opinions, backgrounds, and goals are acknowledged and incorporated within the learning environment. In this model, teachers are guided by what is best for the students when helping them to learn or make decisions.

The concept of student-centered learning is derived from several models. It first evolves out of the constructivist learning theory which asserts that knowledge is constructed uniquely and individually in multiple ways (Vygotsky, 1978, cited in Bush & Saye, 2000). It also derives from the experiential model in which teaching is seen as transformation of existing knowledge (Kohonen, 1992) and the active learning model which suggests that all learning activities involve some kind of experience or some kind of dialog such as dialog with self and dialog with others (Fink, 2002).SLLT 2003 page 61

What Are the Characteristics of Student-Centered Learning?

On the basis of the models from which it derives, studentcenteredness entails these characteristics:

• The focus is on active learning, using an integrated approach to connect new learning to prior learning, stimulating interest and relevance, providing student  choice and control, adapting to individual developmental differences, and providing a caring and supportive learning environment (Bansberg, 2003).

• Knowledge is constructed through authentic learning. It is learnt in a real context or the context in which it was first generated. In other words, it links school learning experiences to real world situations.

• Students are active participants in the learning process rather than passive recipients. They have opportunities and increased responsibilities to identify and self-direct their own learning needs, locate learning resources, and construct their own knowledge based on those needs.

• Class activities and project work are arranged differently to allow learners a variety of choices to select according to the needs of each student. This results from the notion that students have different capabilities and  preferences for learning modes and strategies.

• A learning environment, where learning may take place anywhere, at any time, in many forms and by diverse means, is created. Such a learning environment enables students to be responsible for and involved in their education. As such, students are provided with  substantive out-of-classroom activities that increase students’ learning in a number of dimensions.

• Students are motivated more intrinsically (self-motivation) than extrinsically (external motivation). Simply put, students are motivated from within not from without. For example, they type a written assignment because they take pride in their work not because they want people to admire or approve of it.page 62 SLLT 2003

Why Switch to this New Model?

What Is the Problem with the Traditional Method?

To answer these questions, we need to look back to analyze the nature of the traditional teacher-centered approach, and its outcome on learners to see why a student-centered approach should be promoted as an alternative.

The teacher-centered approach, influenced by the transmission model,  affirms that knowledge is something that can be transmitted from teachers to students, like a two-dimensional learning of teacher to student instruction.  In a classroom, a teacher is the person in authority whose job is to impart knowledge and skills, evaluate and correct the learners’ performance according to the criteria he/she has set. The students are relatively passive recipients of knowledge, and expect the teacher to be totally in charge of their learning.

As such, the typical pattern of classroom interaction in this transmission model is IRE—teacher Initiation, student Response, and teacher Evaluation (Mehan,1979). In the IRE pattern,  teachers are always at the front of the room, providing knowledge, asking students to demonstrate knowledge previously taught, and evaluating the students’ responses and performance.

This teacher-centered practice is deeply rooted in Thai society, wherein “hierarchy” lies as a central value. Since Thais place an emphasis on the vertical respect relation and submission to authority (Williams, 1980), teachers, who have a much higher status than students, are regarded as the second parents whose mission is not only to impart knowledge but to teach morals and mold the students to be good citizens in society as well. The image that is generally assigned to a teacher is that of a “righteous guru” who possesses great knowledge. As such, it goes without saying that in the learning process, the teacher, not the learner, is placed right in the center.

In view of these two factors, the hierarchical pattern of society and the transmission model of education, we can understand more clearly why Thai teachers need to maintain their “righteous guru” image through the use of teacher-front orientation and the IRE pattern.

Unfortunately, however, such teaching practice has a major downside, for it has shaped learners to be passive recipients who merely listen, memorize, and absorb the information transferred  by the guru rather than to initiate or negotiate the outcome of the learning process. Students are not trained  to exercise their analytical, critical, and reflective thinking. Much worse,  this education system does not (SLLT 2003 page 63) prompt students to become independent learners who recognize that knowledge is constructed in many ways, see the value of learning, realize that learning is a life-long process, and understand that there’s no one else but themselves be responsible for their own learning.

To keep abreast with the rapidly changing world of information and the economy that requires critical thinking, we need to empower the students. We need to enable them to think critically and independently, and be responsible for and involved in their learning. Students need to be self-directed  and become active players in the academic learning enterprise. On all these accounts, it is time to advance from two-dimensional teacher-to-student instruction to  three dimensional student-centered learning where students and teachers are involved in project work. According to Watanabe (1999), the latter can “allow for a depth in the learning process through the students and teachers active participation in the learning process—a participation that allows for an unlimited amount of creativity” (p. 1).

How Can Student-centered Learning be Implemented?

As mentioned earlier, the teacher-centered model has long been the focus of our education system. Therefore, in an attempt to implement the student-centered approach, the first thing that needs to be done is to re-conceptualize teaching and learning. The traditional concept—that emphasizes knowledge  as the object to be transmitted, teaching as the presentation of knowledge, and learning as its absorption—must all be reformed. We need to implement a new conception that views knowledge as something that can be constructed, teaching as a means to provide an environment that is most conducive to learning, and learning as the process of learning how to learn. Based on the new concept, teachers and students need to modify their new roles to fit the learning process. These can be outlined as follows:

The Role of a Teacher

The teacher’s role, in a student-centered classroom, is much more crucial and valuable than that of the teacher-centered orientation.

Teachers need to:

• Change from the role of authority and presumed expert who possesses all knowledge to become a facilitator who provides apage 64 SLLT 2003 setting in which the students can play an active and inquiring role in their own learning.

• Create a learning environment that stimulates and challenges learners, fosters critical thinking and the process of knowledge construction. For example, teachers can enhance the thinking skills of learners through doing  such activities  as reasoning, decision making, reflecting, making inferences and problem solving. These types of activities encourage students to engage cognitively and emotionally with the learning tasks. The latter activity, especially, can be done by building an environment that allows students to examine complex problems using a wide variety of resources, develop their own strategies for addressing these problems, and present and negotiate solutions to these problems in a collaborative manner.

• Promote collaborative learning. Collaboration among students is an integral component of  the student-centered approach. Working as a team, according to Kohonen (1992), can create a positive interdependence and individual accountability among learners as each member attempts to contribute to the team product and thus is in charge  of helping his/her teammates to learn. Collaboration can also foster learners’ growth, develop social and learning skills, and  help them construct their own knowledge through engaging in the exchange of ideas.

• Recognize the individual differences in approaches to learning. Teachers should set multiple tasks and give choices to learners to select and sequence their own activities independently.

• Reinforce the idea that the source of knowledge is not confined within the walls of a classroom, but may also be discovered outside. Some examples of sources of knowledge include: parents, elders, libraries, museums, historical sites, authentic materials, and the Internet.

• Utilize “authentic assessment” (“Authentic Assessment,” 2001)—one that examines a student’s collective abilities, criterion-referenced, and performance-based—rather than standardized assessment.

• Draw from different disciplines to integrate learning experiences and more importantly, use team teaching toSLLT 2003 page 65 achieve integrated learning outcomes. For example, teachers with different expertise like tourism and biology, working together, can bring together the concepts in different subjects to teach generally about the environment.

• Draw upon the relation between the students’ prior knowledge and experiences to the new learning. This is based on the notion that the learning experiences that relate to the students’ personal knowledge and experiences are the most easily learnt and often the most difficult to forget.

The Role of a Student

In a similar vein, students play a significant role in the learningprocess. They no longer view themselves as empty vessels waiting to be filled. Instead, they need to:

• Change from the old belief “knowledge is to be transmitted by teachers” to the new understanding “knowledge is to be constructed,” and be aware that students are responsible for constructing their own personal knowledge.

• Change from merely being passive recipients to taking part as active participants who are engaged in all aspects and activities of their learning (both cognitively and physically) that are generally the duty of the teacher in most traditional learning activities.

• Set meaningful goals for completing the learning activity, assume more responsibility for meeting those goals, and monitor their progress in order  to determine if the strategies they are using to accomplish their goals are effective (Glassglow, 1997).

Is the Use of Technology an Integral Component in Student-Centered Learning?

There is no doubt that in the 21st century technology is increasingly important. Not only does it affect the way we live, the way we conduct business, the way we communicate with one another, but also the way we teach and  learn. According to Tsang-Kosma (2003), the business world demands  that schools prepare graduates who are skilled at working in teams, can effectively solve problems,page 66 SLLT 2003 are able to process and apply information, and more importantly, can use technology effectively in order to maximize productivity. As such, the challenges and educational  goals for schools should focus on creating the learning environment that incorporates technology as well as fosters the skills necessary to empower students. If integrated properly, technology such as audio, dynamic visual formats, computers, and the Internet, will  enrich the learning environment by using them effectively as a medium of instruction or a tool to enhance student learning. Some merits of technology, as outlined by NCREL (2003) are highlighted here:

• Technology can change the learning context from teachercentered to learner-centered activities, giving students more control of content, creating  a more collaborative learning environment, and providing different ways of accessing information and communicating with people. Many interactive software programs can lend themselves well to learnercentered instructional approaches.

• Technology provides hands-on, minds-on activities—those that engage students’ physical as well as mental skills to solve problems. The activities can increase students’ fluency with given content, strengthen basic skills, help students acquire higher-level proficiencies, increase the relevancy of instruction to students’ lives, provide interactive feedback about their performance, and most of all, motivate students. For example, the use of electronic books, often on CD-ROM, can turn reading from a static, print-based activity into an exciting, interactive experience.

• Technology, particularly the Internet, is a tool well-suited to learning. It provides an ideal learning environment that allows anyone to learn by doing, to  receive feedback, to refine understanding, to build new  knowledge, and to reflect (“Preparing Tomorrow’s Teachers,” 2003). What Difficulties Can Arise in the Implementation of Student-Centered Learning? The difficulties that may arise from implementing this innovative model include: SLLT 2003 page 67

• Some teachers resist changing  their old beliefs and usual teaching practices. Such  resistance may occur from the deeply rooted “righteous guru” or  “imparter of knowledge” image fixed in their head. These teachers view themselves as the authorities whose mission is to teach, direct, instruct, and control students. Therefore, they may fear doing things differently; they may see the change as a threat to their status and profession.

• A number of teachers are not willing to implement the approach, for they perceive that the way they teach is already the best and thus there is no  need to change. Since these teachers opt to use only one way or method that they feel works best, they are not open to new ideas or other possibilities.

• Some teachers are in a rush to implement the approach without a thorough understanding of the principles and a careful plan of teaching. These teachers are too eager to make changes and do not take into consideration the  culture and realities of their classroom situation.

• Some teachers lack the knowledge and skills to incorporate technology into their own teaching. Unfortunately, many teachers know very little about computers and are not interested in learning; while others may try to seek new uses for technology in the classroom but do not have sufficient technical support. These teachers see the value of technology but they feel frustrated because they are not trained to use these resources in the classroom setting.

• It may be the case that while many teachers are personally committed to serving students’ needs, the structure of their organization and policies may  not accommodate or, in some cases, hinder the desire to be more student-centered.

• Some students reject the approach because they want evidence that they are being taught something. These students, like some teachers cling to the perception that knowledge must be transferred and thus wait for teachers to spoonfeed them.page 68 SLLT 2003

What Results Can be Indicative of Success in the Implementation of Student-Centered Approach?

The ultimate goal of student-centered learning is to produce self-directed, lifelong learners. This means that teaching can facilitate students to move from dependency toward autonomy. The success of the implementation of such an approach can be examined from the stages of student development below: (“Steps Toward,” 1996)

Stage One: Dependent Learners

Learners, at this very first stage, are dependent on teachers— authorities who impart knowledge, give explicit instructions on what to do, how and when to do it. To students, learning is teacher-centered. Students are not given an opportunity to make choices or exercise control over their learning.

Stage Two: Interested Learners

At this stage, learners show positive response toward the motivation and guidelines given by  teachers. Despite a directive approach, teachers can successfully link content to students’ interests, show high support, and build  a good rapport in the classroom community, all of which can reinforce student willingness and enthusiasm.

Stage Three: Involved Learners

Students, at this level, are  much more developed. More and more, they see themselves as participants in their own learning, seeing the value of their own life experiences, and also the value of learning from and with others. Learners respond well to teaching through collaborative learning.

Stage Four: Self-directed Learners

At this stage, learners can  set their own goals, plans, and standards. This gives them a  sense of independence in, and responsibility for their learning. Teachers no longer give lectures, but rather act as consultants, monitor student progress, and give feedback in the learning process.

(SLLT 2003 page 69)

Conclusion

Student-centered learning is a model in which students are the focus of the learning process. This model, however, does not mean that teachers will step aside, letting students alone run everything. Rather, it means that teachers, when planning their teaching, will take into consideration the views and needs of students and run the classroom to the benefit of students. It also means that teachers will manage their teaching in a way that makes students feel included, value the educational process, and take control of their own learning.

Implementing a student-centered model is a true challenge for the 21 st century. The process of incorporating it into our education system demands hard work and effort from teachers and students alike. The key to the success of implementation requires, on the teacher’s part, a careful study and a thorough  comprehension of the model’s principles, as well as a genuine recognition of its value. Through the new understanding, teachers then can change their old beliefs and practices; they can set the new goals and standards, and plan their teaching, taking into account what is  best for students. In so doing, teachers can also work on their personal and professional development. On the learner’s part, likewise, students, guided by teachers, need to adopt a new conception of the learning process. They need to realize that if they are to keep pace with the rapidly changing world, and to compete in the global market place that has a growing demand for educated workers with skills in critical thinking, problem solving and decision making, they  must change their long-time practice from passive to active  learners. They need to empower themselves, gain control over their learning, and become autonomous learners. Finally, it is hoped, teachers and students working in collaboration, can gradually make  the learning environment become productive and worthwhile.

References

Authentic assessment. (2001). Retrieved April 19, 2003, from

Home

Bansberg, B. (2003). Applying the learner-centered principles to the

special case of literacy. Theory into Practice, 42 (2), 142-147.

Bush, T., & Saye, J. (2000). Implementation and evaluation of a

student-centered learning unit: A case study. Educational

Technology, Research and Development, 48 (3), 79-91.

Fink, L. D. (2002). Active learning. Retrieved April 5, 2003, from

http://www.hcc.hawaii.edupage 70 SLLT 2003

Glassglow, N. (1997). New curriculum for new times: A guide to

student-centered, problem-based learning. Thousand Oaks, CA:

Corwin.

Kohonen, V. (1992). Experiential language learning: Second language

learning as cooperative learner education. In D. Nunan (Ed.),

Collaborative language learning and teaching (pp. 17-32).

Cambridge: Cambridge University Press.

Mehan, H. (1979). Learning lessons. Cambridge, MA: Harvard

University Press.

North Central Regional Educational Laboratory (NCREL). (2003).

Focus on student-centered learning/Support professional

development. Retrieved March 27, 2003, from

http://www.ncrel.org

Preparing tomorrow’s teachers to use technology. (2003). Retrieved

March 3, 2003 from http://www.pt3.org/technology/

tech_learning.html

Steps toward becoming a self-directed learner. (1996). The Teaching

Professor, 10 (4). Retrieved March 3, 2003  from

http://www.oaa.pdx.edu/CAE/FacultyFocus/spring96/excerpt.html

Tsang-Kosma, W. (2003). Student-centered learning + technology =

rethinking teachers’ education. Retrieved March 27, 2003, from

Georgia State University

Watanabe, Y. (1999). Second language literacy through studentcentered learning. The Internet TESL Journal, 5 (2). Retrieved

March 2, 2003  from  http://iteslj.org/Articles/CaprioStudentCentered.html

Williams, D. L. (1980). Thai ways and my ways (Report No. SO

015980). Dekalb, IL: Northern Illinois University, Center for

Southeast Asian Studies. (ERIC Document Reproduction Service

No. ED 231183)

About the Author

Asst. Prof. Chutima Thamraksa obtained her Ph.D. in English

Rhetoric and Linguistics from Indiana University of Pennsylvania,

U.S.A. in 1997, M.A. in English for Non-Native Speakers and a

Certificate in Teaching English  as a Second Language (TESL)from

Central Missouri State University, U.S.A. in 1988, and B.Ed. in

English from Chulalongkorn University in 1985.  She is currently the

Chairperson of the English Department, School of Humanities,

Bangkok University. Her publications include three textbooks:

Exploring through Writing: An Advanced Rhetoric; Report Writing;SLLT 2003 page 71

Critical Reading, and articles on Virtual schooling: a technological and

educational revolution, and The use of ICT on language teaching.

 

 

*Chutima Thamraksa is an Assistant Professor and Director of the Bangkok Univeristy Language Institute

May 30th 2011

Student-Centered Learning: Demystifying the Myth

 


อาจารย์ชุติมา ธรรมรักษา

ครูเป็นศูนย์กลาง หรือ ครูเป็นหลักโดยตรงเป็นศูนย์กลางของการศึกษาประเทศไทยมาช้านาน แนวปฏิบัติดังกล่าวได้วางรากฐานการเรียนแบบตามบทเรียน หรือ การเรียนแบบจดจำ มากกว่าเรียนเพื่อพัฒนาทักษะการคิดของผู้เรียน ข้อบกพร่องของระบบดังกล่าว เห็นได้จากความไม่กระตือรือร้นของผู้เรียนที่ขาดทักษะการคิดเชิงวิเคราะห์ และไม่มีความคิดสร้างสรรค์  จากการตระหนักถึงข้อบกพร่องนี้ กระทรวงศึกษาธิการได้ริเริ่มการปฏิรูประบบการศึกษาครั้งสำคัญขึ้น จากรูปแบบที่ครูเป็นศูนย์กลางแบบดั้งเดิมสู่แนวทางการให้นักเรียนเป็นศูนย์ กลาง ด้วยมุ่งหวังจะผลิดผู้เรียนที่มีศักยภาพ มีสมรรถณะ มีความเป็นตัวของตัวเอง และสามารถเรียนรู้อย่างยั่งยืนได้ และจะสามารถยืนอยู่บนโลกแห่งการแข่งขันนี้ได้
อย่างไรก็ตาม การเปลี่ยนแปลงต่างๆ ที่เป็นผลมาจากการนำนโยบาย นักเรียนเป็นศูนย์กลางมาปฏิบัติใช้ ได้ทำให้คุณครูจำนวนไม่น้อยสับสบและงุนงงกับบทบาทและแนวทางการสอนของตนเอง บทความที่จะนำเสนอต่อไปนี้ต้องการที่จะสร้างความกระจ่าง ชี้แจงข้อสงสัยดังกล่าวโดยการให้นิยามและคำจำกัดความของแนวคิดต่างๆ และยังจะนำเสนอตัวอย่างจากแง่มุมต่างๆ ที่ตรงประเด็นกับแต่ละแนวคิดด้วย
บทนำ
ประเด็นเรื่อง นักเรียนเป็นศูนย์กลาง หรือผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง ได้กลายเป็นที่สนใจของนักการศึกษา โรงเรียน วิทยาลัยครู ในช่วงหลายปีที่ผ่านมา ในความเป็นจริงแล้วแนวคิด “นักเรียนเป็นศูนย์กลางการเรียนรู้” ไม่ได้รับการกล่าวถึงไม่มาก กระทั้งในพระราชบัญญัติการศึกษา ปี 2542 นักเรียนเป็นศูนย์กลางการเรียนรู้กลายเป็นประเด็นหลักในการปฏิรูป การศึกษา แนวคิดใหม่นี้ ได้ถูกคาดหวังว่า จะเป็นตัวช่วยเพิ่มประสิทธิภาพให้แก่ประชากรไทย ให้อยู่รอดได้ในสังคมที่มีการแข่งขันเพิ่มขึ้น ในระบบเศรษฐกิจที่ความรู้เป็นตัวขับเคลื่อน และในโลกของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
แม้จะได้รับความสนใจอย่างมาก อย่างไรก็ตาม สิ่งที่ตามมาคือความสับสนและความไม่มั่นใจในกระบวนทัศน์การเรียนการสอนภายใน แนวคิดและแนวทางใหม่นี้ คุณครูบางท่านมองแนวคิดใหม่นี้ว่าเป็นการคุกคามระบบ ครูเป็นศูนย์กลาง หรือ ครูเป็นผู้นำ ที่มีมายาวนาน ในขณะเดียวกันบางท่านเกรงว่าแนวคิดใหม่นี้จะลดบทบาทที่สำคัญของครูในชั้น เรียน และเช่นกัน นักเรียนเอง บางคนก็ไม่สบอารมณ์กับแนวคิดใหม่นี้ อย่างที่เราได้เห็นตามรายงานข่าวในหน้าหนังสือพิมพ์ล่าสุดนี้ ที่ว่า “แนวคิด นักเรียนเป็นศูนย์การการเรียนรู้ เปรียบได้กับ “ควาย” เป็นศูนย์กลางการเรียนรู้”  ตามจริงแล้ว คำว่า “ควาย” สำหรับคนไทยเราหมายถึง วัวตัวใหญ่ที่ใช้ในการลากไถช่วยเหลือชาวนา หากเมื่อใช้กับคนหรือกับแนวคิดนั้น มีความหมายเป็นนัยยะ เปรียบเทียบคนหรือแนวคิดนั้นว่า โง่เขลา
การกล่าวว่าระบบ นักเรียนเป็นศูนย์กลาง ก็คือ ระบบ “ควาย” เป็นศูนย์กลางนั้น เป็นการบอกให้ทราบว่าระบบนี้เป็นระบบที่ไม่เป็นประโยชน์ เป็นเรื่องน่าผิดหวัง และมันจะไม่ช่วยนักเรียนให้ฉลาดขึ้น แต่กลับจะระงับการพัฒนาของเด็กๆ คำวิพากย์วิจารณ์นี้แสดงให้เห็นชัดเจนว่ารูปแบบการเรียนการสอนนี้ล้มเหลว ไม่ใช่ด้วยตัวรูปแบบเอง แต่เป็นผลมาจากการตีความที่ผิดๆ การนำไปปฏิบัติที่ผิดๆ และการต่อต้านรูปแบบการเรียนการสอนใหม่
แม้จะมีการอธิบายเชิงลายลักษณ์อักษรเรื่องนักเรียนเป็นศูนย์กลางการ เรียนรู้ แต่อาจกล่าวได้ว่าครูส่วนใหญ่ยังไม่เชื่อว่าจะเป็นวิธีในการเสริมสร้าง คุณภาพการเรียนรู้ของนักเรียน ที่แย่ไปกว่านั้น ครูไม่มั่นใจถึงขั้นตอนการปฏิบัติ หรืออะไรที่ควรปฏิบัติเพื่อให้แนวคิดนี้เกิดขึ้นและปฏิบัติได้จริง คำถามมากมายเรื่องความเป็นไปและการบังคับใช้ของการสอนแนวใหม่นี้ได้ถูกหยิบ ยกขึ้นมาอย่างกว้างขวางในสังคมของคุณครู ดังนั้น เอกสารฉบับนี้จึงพยายามให้ความกระจ่าง วิเคราะห์หลักการและแง่มุมต่างๆ ของแนวคิด นักเรียนเป็นศูนย์กลาง ผ่านคำถามที่มักถูกเอ่ยถึงหรือถามถึงมากที่สุด ได้แก่
อะไรคือการเรียนรู้ แบบนักเรียนเป็นศูนย์กลาง
คำตอบคือเพียงแค่เอานักเรียนมาเป็นศูนย์กลางในการเรียนรู้ หรือรูปแบบที่นักเรียนถูกวางไว้เป็นแกนหลักในกระบวนการการเรียนรู้ เริ่มกันตั้งแต่ ความต้องการของนักเรียน ความเห็นของนักเรียน ภูมิหลังของนักเรียน และจุดประสงค์ของนักเรียน สิ่งเหล่านี้ต้องได้รับความสนใจและมีส่วนร่วมในบริบทการเรียนรู้ ภายใต้รูปแบบนี้ ครูจะเป็นผู้ชี้แนะโดยดูว่าอะไรเหมาะสมกับนักเรียนที่สุด เมื่อช่วยเหลือให้นักเรียนเรียนและตัดสินใจ
หลักการของ นักเรียนเป็นศูนย์การการเรียนรู้มีที่มาจากหลากหลายรูปแบบ เริ่มต้นพัฒนาการมาจากทฤษฏีการเรียนรู้สามารถสร้างได้ ที่เชื่อว่าเราสามารถจัดโครงสร้างให้กับความรู้ได้อย่างมีเอกภาพและมี เอกลักษณ์ได้ในหลากหลายทาง (Vygotsky, 1978, cited in Bush & Saye, 2000) และยังพัฒนาการมาจากการเรียนรู้จากประสบการณ์ กล่าวคือการสอนคือการส่งผ่าน สืบต่อของความรู้ที่มีอยู่แล้ว (Kohonen, 1992) และการเรียนรู้ และมาจากรูปแบบการเรียนรู้อย่างกระตือรือร้น ที่เสนอให้กิจกรรมการเรียนรู้ทุกกิจกรรมต้องมีการปฏิบัติเพื่อให้ได้ ประสบการณ์ตรง หรือต้องมีการโต้ตอบ อย่างเป็นการโต้ตอบกับตัวเองหรือผู้อื่น (Fink, 2002).SLLT 2003 page 61
อะไรคือหน้าตาและลักษณะของการเรียนรู้แบบนักเรียนเป็นศูนย์ กลาง
จากพื้นฐานของรูปแบบต่างๆ ที่การเรียนรู้แบบนักเรียนเป็นศูนย์กลางพัฒนามาจาก ได้ก่อให้เกิดลักษณะดังต่อไปนี้
–       มุ่งเน้นไปที่ให้มีการเรียนรู้อย่างมีการโต้ตอบ ใช้แนวคิดต่างๆ ร่วมกันเพื่อเชื่องต่อการเรียนรู้ใหม่กับการเรียนรู้เดิม กระตุ้นความสนใจและสิ่งที่เชื่องโยงกัน เปิดโอกาสให้ผู้เรียนหรือนักเรียนมีทางเลือกและควบคุม ปรับเปลี่ยน เพื่อความต้องการในการพัฒนาที่แตกต่างกันของแต่ละคน พร้อมกันนั้นยังให้การดูแลและสร้างบรรยากาศการที่ส่งเสริมการเรียนรู้
–       จัดโครงสร้างความรู้โดยผ่านการเรียนรู้ที่แท้จริง คือการเรียนในบรรยากาศจริงหรือในบริบทที่ความรู้เกิดขึ้นหรือถูกสร้างขึ้น หรือจะกล่าวได้อีกอย่างว่า เชื่อมต่อประสบการณ์การเรียนรู้ในโรงเรียนกับสถานการณ์ของโรลกความจริงนั้น เอง
–       นักเรียนมีส่วนร่วมในขั้นตอนการเรียนรู้ มากกว่าการเป็นผู้รับความรู้ นักเรียนจะได้รับโอกาสในการมีส่วนร่วมและเพิ่มความรู้สึกรับผิดชอบเพื่อให้ ทราบถึงทิศทางการเรียนรู้ของตัวเองและความต้องการในการเรียนรู้ของตนเอง รู้แหล่งของการเรียนรู้ และจัดโครงสร้างความรู้ตามความต้องการของตัวเอง
–       จัดกิจกรรมในชั้นเรียนและโครงงานที่แตกต่าง เพื่อให้ผู้เรียนหรือนักเรียนได้มีทางเลือกหลากหลายในการคัดสรรตามความต้อง การของนักเรียนแต่ละคน เป็นผลมาจากการตระหนักว่านักเรียนแต่ละคนมีศักยภาพต่างกัน มีความชื่นชอบในรูปแบบการเรียนรู้และมียุทธวิธีในการเรียนรู้ที่ต่างกัน
–       บรรยากาศในการเรียนรู้ กล่าวคือการเรียนรู้ควรเกิดขึ้นได้ทุกที่ และทุกเวลา ทั้งในรูปแบบต่างและในความหมายต่างๆ ที่สามารถสร้างสรรค์ได้ บรรยากาศการเรียนรู้เช่นนี้จะช่งยสร้างเสริมให้นักเรียนมีส่วนร่วมและมีความ รับผิดชอบในการศึกษาของตน ดังนั้นนักเรียนได้ถูกเตรียมตัวในบรรยากาศที่แท้จริงด้วยกิจกรรมนอกห้อง เรียนที่จะเพิ่มการเรียนรู้ของนักเรียนในมิติต่างๆ
–       นักเรียนถูกกระตุ้นจากภายใน (มีแรงจูงใจของตัวเอง) มากกว่าถูกกระตุ้นจากภายนอก (แรงจูงใจจากภายนอก) หรือกล่าวง่ายๆ ว่านักเรียนมีแรงจูงใจจากภายในไม่ใช่จากภายนอก ยกตัวอย่างเช่น นักเรียนพิมพ์รายงานส่งเพราะนักเรียนต้องการสร้างความภูมิใจให้งานของตัวเอง ไม่ใช่ต้องการให้คนอื่นชื่นชมวิธีการนำเสนอนี้
ทำไมต้องเปลี่ยนมาเป็นรูปแบบการเรียนรู้ใหม่นี้
การเรียนรู้แบบดั้งเดิมมีปัญหาอะไรหรือ
เพื่อเป็นการตอบคำถามสองข้อนี้ เราต้องมองย้อนกลับไปถึงการวิเคราะห์ธรรมชาติของการเรียนรู้แบบดั้งเดิมที่ ครูเป็นศูนย์กลางก่อน และดูถึงผลที่ได้รับจากการเรียนรู้แบบดั้งเดิมต่อผู้เรียน เพื่อให้เข้าใจว่าทำไมแนวทางการเรียนรู้แบบนักเรียนเป็นศูนย์กลางจึงควรได้ รับการสนับสนุนให้เป็นทางเลือกใหม่
แนวคิด ครูเป็นศูนย์กลาง ได้รับอิทธิพลมาจากแนวความคิดที่ว่าองค์ความรู้นั้นคือบางอย่างที่สามารถส่ง ต่อจากครูสู่นักเรียนได้ เสมือนการเรียนรู้แบบสองมิติ โดยโครงสร้างว่าครูสู่นักเรียน  ในห้องเรียนครูเสมือนเป็นบุคคลที่ได้รับมอบ หมายให้มีหน้าที่พัฒนาความรู้และทักษะ ประเมินและแก้ไขการปฏิบัติของผู้เรียนตามกฏเกณฑ์ที่ครูท่านนั้นได้ตั้งขึ้น ไว้ นักเรียนคือผู้รับความรู้และคาดหวังว่าครูจะควบคุมจัดการเบ็ดเสร็จในกระบวน การเรียนรู้นั้น ดังนั้น กระบวนการเรียนรู้ที่ปฏิบัติในห้องเรียนแบบไม่มีการโต้ตอบที่ใช้กันทั่วไป นี้มีการประยุกต์มาจาก IRE คือ ครูริเริ่ม นักเรียนตอบสนอง และครูประเมินผล (Mehan,1979)
ในรูปแบบ IRE ครูผู้สอนจะอยู่ด้านหน้าของชั้นเรียนเสมอ ให้ความรู้ ถามนักเรียนเพื่อให้นักเรียนแสดงว่าเข้าใจความรู้ที่เพิ่งสอนไป จากนั้นประเมินผลการปฏิบัติหรือคำตอบของนักเรียน การสอนแบบครูเป็นศูนย์กลางนี้ยังรากลึกในสังคมไทย สังคมที่ระบบ “ผู้ใหญ่ ผู้น้อย” เป็นคุณค่าสำคัญของสังคม เนื่องจากคนไทยให้ความสำคัญกับการที่ผู้น้อยควรเคารพผู้ใหญ่ ตามลำดับ และเกี่ยวข้องกับเรื่องอำนาจสิทธิ์ขาด (Williams, 1980)  ดังนั้นครู ผู้ที่มีสถานะสูงกว่านักเรียน ผู้ที่ถือได้ว่าเป็นพ่อแม่คนที่สอง หน้าที่ของครูมิใช่เพียงสั่งสอนความรู้ สั่งสอนคุณธรรม และกล่อมเกลานักเรียนให้เป็นพลเมืองที่ดีของชาติด้วย ด้วยภาพลักษณ์ที่คนทั่วไปมองครูว่าเป็น “ผู้รู้โดยชอบธรรม” ผู้ประสิทธิ์ประสาสตร์ความรู้เช่นนี้แล้ว ไม่ต้องกล่าวเลยว่าในกระบวนการเรียนรู้ ครูจึงผู้วางไว้เป็นศูนย์กลาง ไม่ใช่ผู้เรียนหรือนักเรียนเป็นศูนย์กลาง
ด้วยปัจจัยทั้งสองที่กล่าวมาแล้วคือระบบ ผู้ใหญ่ ผู้น้อยของสังคม และรูปแบบการส่งทอดทางการศึกษานี้ เราก็จะเข้าใจได้ชัดเจนขึ้นว่าทำไมครูไทยจึงจำเป็นต้องคงภาพลักษณ์ความเป็น “ผู้รู้โดยชอบธรรม” ด้วยการยึดรูปแบบการเรียนการสอน แบบครูยืนหน้าห้อง และการสอนแบบ IRE ไว้
อย่างไรก็ตาม โชคร้ายมากที่ระบบการสอนที่ครูไทยนิยมปฏิบัตินี้มีข้อเสียอย่างมาก รูปแบบนี้ได้ส่งให้ผู้เรียนเป็นผู้รับความรู้โดยไม่โต้ตอบ เป็นผู้ฟัง จำ และซึบซับข้อมูลที่ส่งมาโดยผู้รู้ นักเรียนไม่ใช่ผู้ริเริ่ม หรือผู้มีข้อสงสัยต่อสิ่งที่เรียนรู้
นักเรียนไม่ได้ถูกฝึกให้ใช้ความคิดอย่างวิเคราะห์ วิจารณ์หรือสะท้อนเปรียบเทียบ ซ้ำร้ายไปกว่านั้น ระบบการศึกษานี้ไม่ได้เตรียมนักเรียนให้เป็นผู้เรียนรู้อย่างอิสระ ที่ตระหนักว่าความรู้มีโครงสร้งและสามารถเรียนได้หลายรูปแบบ นักเรียนไม่ตระหนักเห็นคุณค่าของการเรียนรู้ ไม่ตระหนักว่าการเรียนรู้เป็นกระบวนการต่อเนื่องตลอดชีวิต ทั้งยังไม่เข้าใจว่าไม่มีคนอื่นที่มีส่วนรับผิดชอบการเรียนรู้ของตนเองนอก จากตัวผู้เรียนเอง
เพื่อให้เท่าทันโลกที่เปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็วของข้อมูลข่าวสารและ เศรษฐกิจที่ต้องการทักษะการคิดวิเคราะห์ เราต้องเสริมสร้างนักเรียนของเรา เราต้องสร้างให้นักเรียนของเราคิดอย่างวิเคราะห์และคิดอย่างอิสระ และรู้รับผิดชอบ และมีส่วนร่วมกับการเรียนรู้ของเขา นักเรียนต้องสามารถกำหนดทิศทางของตัวเองและเป็นผู้มีส่วนร่วมที่กระตือ รือร้นในบริบทการเรียนรู้เชิงวิชาการนี้ ด้วยความสำคัญเหล่านี้ ถึงเวลาแล้วที่เราต้องพัฒนาการให้ความรู้จากแบบสองมิติ ครูสู่นักเรียน ไปเป็นโครงสร้างแบบนักเรียนเป็นศูนย์กลางการเรียนรู้เชิงสามมิติ ที่ที่นักเรียนและครูมีส่วนร่วมในการพัฒนาโครงงาน ตามคำกล่าวของ วาตานาเบ (1999) “เราต้องอนุญาตให้การมีส่วนร่วมเชิงลึกในกระบวนการเรียนรู้ ผ่านนักเรียนละครูอย่างเข้มแข็ง การมีส่วนร่วมที่เปิดโอกาสให้เกิดการสร้างสรรค์อย่างไม่มีข้อจำกัด”
จะทำให้การการเรียนรู้แบบนักเรียนเป็นศูนย์กลางปฏิบัติได้จริง อย่างไร
อย่างที่กล่าวมาแล้วขั้นต้น ครูเป็นศูนย์กลางเป็นแกนสำคัญของระบบการศึกษาของเรามาช้านาน ดังนั้น ความตั้งใจในการทำให้การเรียนรู้แบบนักเรียนเป็นศูนย์กลางเกิดขึ้นได้จริง นั้น สิ่งแรกคือการต้องทำคือการแก้ไขทัศนคติการเรียนการสอน ทัศนคติเดิมๆ ที่เน้นให้ความรู้เป็นวัตถุที่สามารถส่งต่อกันได้ การสอนคือการนำเสนอความรู้ และการเรียนคือการซึบซับความรู้ ทั้งหมดนี้ต้องได้รับการปฏิรูป เราต้องนำทัศนคติและแนวคิดใหม่เข้าไป ทัศนคติที่ว่าความรู้เป็นสิ่งสามารถจัดโครงสร้างได้ การสอนคือการจัดบรรยากาศและสิ่งแวดล้อมที่เอื้อให้เกิดการเรียนรู้ และการเรียนรู้คือกระบวนการของการเรียนรู้ว่าจะเรียนอย่างไร  ตามรูปแบบการ เรียนรู้ใหม่นี้ นักเรียนและครูต้องปรับบทบาทและหน้าที่ใหม่ เพื่อให้เข้ากับกระบวนการเรียนรู้ โครงร่างคร่าวๆ ของการปรับบทบาทดังกล่าวมีดังต่อไปนี้
บทบาทของครู
บทบทของครูในห้องเรียนแบบนักเรียนเป็นศูนย์กลางการเรียนรู้นั้นมีคุณ ค่าและต้องมีความพิถีพิถันมากกว่ารูปแบบเดิมที่ให้ครูเป็นศูนย์กลาง
ครูมีความจำเป็นต้องปฏิบัติดังนี้
  • เปลี่ยนจากผู้มีอำนาจและนำเสนอความรู้ทั้งหมด มาเป็นผู้ให้คำแนะนำ ชี้แนะ ผู้สร้างบรรยกาศที่นักเรียนจะสามารถมีแรงจูงใจ สนใจและตั้งข้อสงสัยเกี่ยวกับบทบาทของตัวเองในการเรียนรู้
  • สร้างบรรยากาศในการเรียนรู้ที่จะสร้างแรงจูงใจและท้าทายผู้เรียน กระตุ้นการคิดอย่างวิเคราะห์และสร้างกระบวนการเรียนรู้อย่างมีโครงสร้าง ยกตัวอย่างเช่น ครูสามารถเสริมสร้างทักษะการคิดของผู้เรียนผ่านการทำกิจกรรม เช่น การหาเหตุผล การตัดสินใจ การสะท้อนความคิด การพูดโน้มน้าวและการแก้ปัญหา กิจกรรมเหล่านี้กระตุ้นนักเรียนให้มีส่วนร่วมทั้งทางกายภาพและความเข้าใจใน เนื้อหากิจกรรม โดยเฉพาะอย่างยิ่ง กิจกรรมที่กล่าวมาในช่วงท้ายๆ สามารถสร้างบรรยากาศที่เปิดโอกาสให้นักเรียนทบทวนปัญหาที่ซับซ้อน ให้ทรัพยากรจากหลากหลายแหล่ง พัฒนายุทธวิธีของตนเองในการเข้าใจปัญหา และสามารถนำเสนอและต่อรองเพื่อให้ได้ทางออกของปัญหาด้วยอาศัยความร่วมมือกัน ได้
  • ส่งเสริมการเรียนรู้แบบเกื้อกูลกัน การส่งเสริมและเกื้อกูลกันระหว่างนักเรียนเป็นองค์ประกอบสำคัญในรูปแบบการ เรียนรู้แบบนักเรียนเป็นศูนย์กลาง ทำงานเป็นทีม ตามงานวิจัยของ โคโฮเนน การเรียนรู้อย่างเกื้อกูลกันจะสามารถสร้างการพึ่งพากันในเชิงบวกและความรับ ผิดชอบส่วนตัวแก่ผู้เรียนได้ เมื่อสมาชิกในทีมได้มีส่วนร่วมออกความเห็น ลงแรง และรับผิดชอบร่วมกันในการช่วยเหลือเพื่อนร่วมทีมในการเรียนรู้ การประสานงานกันยังสามารถสร้างเสริมให้ผู้เรียนเติบโต พัฒนาทักษะการเข้าสังคมและการเรียนรู้ และช่วยให้ผู้เรียนจิตนาการถึงโครงสร้างความรู้ของตนเอง โดยผ่านการแลกเปลี่ยนความคิดเห็น
  • ยอมรับความแตกต่างของแต่ละคน แต่ละคนมีรูปแบบการเรียนรู้ต่างกัน ครูควรจัดกิจกรรมที่หลากหลาย ให้ทางเลือกแก่ผู้เรียนในการเลือกและลงรายละเอีอดกิจกรรมของตัวเอง เป็นรายบุคคลไป
  • สนับสนุนความคิดที่ว่าแหล่งความรู้ไม่ได้ปิดกั้นอยู่เพียงในเขตกำแพงของ ห้องเรียนเท่านั้น ความรู้อาจอยู่ข้างนอก ยกตัวอย่างแหล่งความรู้นอกห้องเรียน อาจรวมถึง พ่อแม่ ผู้ใหญ่ในชุมชน บรรณารักษ์ พิพิธภัณฑ์ โบราณสถาน โบราณวัตถุ หรือแม้แต่อินเตอร์เน็ท
  • นำ “การประเมินผลตามจริง” มาใช้ (“Authentic Assessment,” 2001) หรือการประเมินผลที่ทบทวนความสามารถในการร่วมมือกันของนักเรียน มีเกณฑ์อ้างอิงได้ และขึ้นอยู่กับการปฏิบัติได้จริง มากกว่าการประเมินตามเกณฑ์มาตรฐาน
  • นำเอาประสบการณ์ที่แตกต่างของผู้เรียน จากหลากหลายสาขาและพื้นฐานมามีส่วรร่วมในการเรียนรู้ และสำคัญยื่งไปกว่านั้นคือการทำการเรียนการสอนเป็นทีม เพื่อให้ได้ผู้การเรียนแบบบูรณาการ ยกตัวอย่างเช่น ครูที่มีความชำนาญเฉพาะทางที่แตกต่างกัน เช่น การท่องเที่ยว ชีววิทยา สามารถทำงานร่วมกัน สามารถสร้างสาระวิชาใหม่ขึ้นเพื่อปูพื้นฐานเบื้องต้นเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม
  • สร้างความเชื่องโยงระหว่างความรู้และประสบการณ์เดิมที่นักเรียนมีอยู่ กับการเรียนรู้ใหม่ ทั้งนี้ต้องตระหนักว่าประสบการณ์การเรียนรู้ที่เป็นประสบการณ์ส่วนบุคคลของ นักเรียนแต่ละคนนั้นเรียนรู้ได้ง่ายแต่มักถูกหลงลืมง่ายเช่นกัน
บทบาทของนักเรียน
ในทิศทางใกล้เคียงกัน นักเรียนมีบทบาทสำคัญมากในกระบวนการเรียนรู้ นักเรียนไม่สามารถมองเห็นว่าตนเองเป็นแก้วที่ว่างเปล่ารอการเติมเต็ม ในทางกลับกัน นักเรียนต้องปฏิบัติดังนี้
  • เปลี่ยนจากความเชื่อเดิมที่ว่า “ความรู้ถูกส่งผ่านโดยครู” มาเป็นความเข้าใจใหม่คือ “ความรู้ที่สร้างได้” และตระหนักว่านักเรียนมีส่วนรับผิดชอบในการสร้างองค์ความรู้ของตัวเอง
  • เปลี่ยนจากการเป็นผู้รับสาระทางเดียว มาเป็นผู้มีส่วนร่วมในการเรียนรู้ที่กระตือรือร้น และใส่ใจในกิจกรรมและในแง่มุมต่างๆ ในการเรียนรู้ (ทั้งทางกายภาพและความเข้าใจ) ว่าทั้งหมดนั้นถือเป็นหน้าที่ของครูโดยทั่วไปของครูในกิจกรรมการสอนแบบเดิม
  • ตั้งเป้าหมายที่มีความหมายเมื่อจบกิจกรรมการเรียนรู้นี้ สร้างความรับผิดชอบให้ตัวเองมากขึ้นในการบรรลุเป้าหมายนั้น เคยประเมินพัฒนาการ เพื่อจะได้ปรับยุทธศาสตร์การเรียนรู้ที่ตนใช้เพื่อการบรรลุเป้าหมายอย่างมี ประสิทธิภาพ
การใช้เทคโนโยลีเป็นองค์ประกอบสำคัญใรการเรียนรู้แบบนักเรียน เป็นศูนย์กลางหรือไม่
ไม่ต้องสงสัยเลยว่าในศตวรรษที่ 21 เทคโนโลยีมีความสำคัญเพิ่งขึ้นอย่าง ยิ่ง มีผลกับไม่เพียงแต่กับวิถีการใช้ชีวิตของเรา การดำเนินธุรกิจ การสื่อสารกับคนอื่น แต่ยังมีผลกับวิธีการเรียนการสอนของเรา จากเอกสารของ ทซัง โคส์มา กล่าวว่าโลกธุรกิจเรียกร้องให้โรงเรียนเตรียมนักเรียนนักศึกษาให้มีทักษะ พร้อมทำงานเป็นทีม สามารถแก้ปัญหาได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถปฏิบัติงานและประมวลข้อมูล และสำคัญยิ่งกว่านั้นคือ สามารถใช้เทคโนโลโยลีได้อย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อการผลิตและการปฏิบัติอย่างเต็มกำลัง ยกตัวอย่างเช่น ความท้าทายและเป้าหมายการศึกษาของโรงเรียนควรมุ่งเน้นการสร้างบรรยากาศการ เรียนรู้ที่นำเทคโนโลยีมาร่วมใช้ พร้อมทั้งปลูกฝังทักษะที่จำเป็นต่างๆ เพื่อช่วยนักเรียน
หากนำเทคโนโลยีมาใช้อย่างถูกต้อง เทคโนโลยีที่กล่าวนี้เช่น สื่อการฟัง สื่อภาพเคลื่อนไหว คอมพิวเตอร์อินเตอร์เน็ท จะช่วยเสริมบรรยากาศการเรียนโดยใช้เทคโนโลยีเหล่านี้อย่างมีประสิทธิภาพ ใช้ให้เป็นเช่นสื่อหรือเครื่องมือในการสร้างเสริมการเรียนของนักเรียน คุณประโยชน์ของเทคโนโลยีในการศึกษาได้ถูกกล่าวไว้คร่าวๆ โดยNCREL (2003)
  • เทคโนโลยีสามารถเปลี่ยนบริบทกิจกรรมการเรียนจากครูเป็นศูนย์กลางสู่นัก เรียนเป็นศูนย์กลาง ให้นักเรียนควบคุมบริบทการเรียนของตัวเองมากขึ้น สร้างสรรค์บรรยากาศการเรียนอย่างเกื้อกูลกัน และมีการอำนวยความสะดวกให้เข้าถึงแหล่งข้อมูลและสื่อสารกับสังคมได้หลายวิธี โปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่สามารถโต้ตอบได้สามารถเป็นตัวนำที่ดีในรูปแบบการเรียน แบบผู้เรียนเป็นศูนย์กลางนี้
  • เทคโนโลยีสามารถสร้างกิจกรรมที่ทำให้ผู้เรียนได้ลองปฏิบัติจริง และเข้าใจอย่างแท้จริง โปรแกรมที่กระตุ้นให้นักเรียนฝึกทักษะการแก้ปัญหาทั้งทางกายภาพและจิตใจ กิจกรรมดังกล่าวสามารถสร้างความชำนาญในบริบทที่เสริมขึ้น ทำให้ทักษะพื้นฐานต่างๆ แข็งเกร่ง ช่วยให้นักเรียนพัฒนาไปในระดับที่สูงขึ้น เพิ่มจุดเชื่องต่อของโครงสร้างความรู้กับชีวิตนักเรียน สามารถแจ้งการประเมินผลแก่ผู้เรียน และที่ดีที่สุดคือสามารถสร้างแรงจูงใจนักเรียนได้ ยกตัวอย่างเช่น การใช้แบบเรียนอีเลคโทรนิค ที่เราเห็นกันบ่อยในรูปแบบของซีดี สามารถทำให้กิจกรรมการอ่านที่น่าเบื่อจากเอกสารสิ่งพิมพ์ให้เป็นกิจกรรมที่ ตื่นเต้นและมีการโต้ตอบได้
  • โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เทคโนโลยีอย่างอินเตอร์เนท เป็นเครื่องมือที่เหมาะกับผู้เรียนอย่างยิ่ง อินเตอร์เนทสามารถสร้างบรรยากาศการเรียนรู้ให้แก่ผู้เรียนด้วยการฝึกปฏิบัติ ฟังการประเมินเพื่อปรับปรุงความเข้าใจ สร้างองค์ความรู้ใหม่ และสะท้อนความคิด(“Preparing Tomorrow’s Teachers,” 2003).
อะไรจะเป็นอุปสรรคบ้างในการเรียนการสอนแบบนักเรียนเป็นศูนย์ กลาง
อุปสรรคที่อาจจะเกิดขึ้นในการนำรูปแบบการเรียนการสอนใหม่นี้ไปใช้ ได้แก่
  • ครูบางท่านปฏิเสธการปลี่ยนแปลง ด้วยความเชื่อเดิมๆ และการปฏิบัติที่คุ้นเคย การปฏิเสธนี้อาจเกิดขึ้นจากภาพลักษณ์ของ “ผู้รู้โดยชอบธรรม” หรือ “ผู้ประสิทธิ์ประศาสตร์ความรู้” ฝังอยู่ในหัว ครูเหล่านี้เห็นภาพด้วยเองว่าได้รับการมอบหมายให้สอน ชี้นำ อำนวยการและควบคุมนักเรียน ดังนั้นจึงกลัวที่จะทำสิ่งอื่นที่แตกต่างออกไป เห็นว่าการเปลี่ยนแปลงนี้ทำลายสถานะและอาชีพของตน
  • ครูจำนวนไม่น้อยไม่ยินดีที่จะปฏิบัติตามแนวทางใหม่ ด้วยเห็นว่าวิธีที่ตนเองใช้สอนอยู่นั้นดีอยู่แล้วดังนั้นจึงไม่เห็นความจำ เป็นที่จะต้องเปลี่ยน เหตุที่ครูเหล่านี้ยึดมั่นว่าวิธีที่ทำงานอยู่ปัจจุบันดีอยู่แล้ว ครูเหล่านี้จึงไม่เปิดตัวเองสู่ความคิดและความเป็นไปได้ใหม่ๆ
  • ครูบางท่านเร่งรีบที่จะใช้รูปแบบการสอนใหม่นี้ โดยยังไม่เข้าใจถึงหลักการที่แท้จริงหรือยังไม่มีโอกาสได้คิดถ้วนถี่ หรือยังไม่ได้วางแผนการสอนไว้ระมัดระวัง ครูเหล่านี้มีความประสงค์ที่แรงกล้าที่จะเปลี่ยน หากแต่ไม่ได้พิจาณณาถึงประเด็นทางวัฒนธรรมหรือพิจารณาถึงสภาพชั้นเรียนของตน
  • ครูบางท่านยังขาดความเข้าใจและทักษะในการประสานเทคโนโลยีเข้ากับการสอน น่าเสียดายที่ครูจำนวนมากมีความรู้ด้านคอมพิวเตอร์ค่อนข้างน้อยและไม่ใส่ใจ เรียนรู้เพิ่มเติม ในขณะที่บางท่านมีความต้องการหาความรู้ด้านคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีเพิ่ง เติมแต่ขาดอุปกรณ์และการสนับสนุน ครูเหล่านี้เห็นคุณค่าและประโชยน์ของคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีแต่รู้สึกอึด อัดเพราะท่านเหล่านี้ไม่ได้ถูกอบรมหรือฝึกฝนให้ใช้เทคโนโลยีเหล่านี้ในชั้น เรียน
  • อาจเกิดกรณีที่ครูพยายามตอบสนองความต้องการของนักเรียนอย่างจริงจัง แต่โครงสร้างขององค์กรหรือนโยบายการสถานศึกษาอาจไม่เอื้ออำนวย ซึ่งเป็นการขัดขวางความพยายามที่จะให้นักเรียนเป็นศูนย์กลางมากขึ้น
  • นักเรียนบางกลุ่มต่อต้านการเรียนการสอนแบบใหม่ เพราะนักเรียนต้องการหลักฐานที่ชัดเจนว่าตนเองได้ถูกสอนบางอย่าง นักเรียนเหล่านี้เห็นเช่นดียวกับครูบางท่านที่ว่า ความรู้ถูกส่งผ่านกันมา และจะรอการป้อนความรู้จากครูเท่านั้น
มีตัววัดอะไรบ้างที่จะบ่งชี้ว่ารูปแบบการเรียนรู้แบบนักเรียน เป็นศูนย์กลางประสบความสำเร็จ
วัตถุเป้าหมายสูงสุดของการเรียนแบบนักเรียนเป็นศูนย์กลางคือการทำให้ นักเรียนรู้จัดทิศทางของตนเอง และเป็นผู้เรียนรู้แบบบูรณาการ (เรียนรู้ได้ตลอดชีวิต) หมายถึงครูสามารถช่วยเหลือ ชี้แนวให้นักเรียนเปลี่ยนจากการเรียนแบบพึ่งพาผู้อื่นมาเป็นผู้ที่สามารถหา ความรู้เองได้ ความสำเร็จในการนำแนวทางการเรียนรู้นี้ไปปฏิบัติสามารถดูได้จากขั้นตอนการ พัฒนาของนักเรียน ตามลำดับดังต่อไปนี้(“Steps Toward,” 1996)
ขั้นที่ 1: ผู้เรียนที่ต้องพึ่งพา (ไม่สามารถหาความรู้ได้ด้วยตนเอง)
ในขั้นแรกนี้ ผู้เรียนจะพึ่งพาครู ครูผู้นำพาความรู้ ให้โครงสร้างและทิศทางว่าต้องทำอะไร อย่างไร และเมื่อไร สำหรับนักเรียน การเรียนคือครูเป็นศูนย์กลาง นักเรียนจะไม่ได้รับโอกาสในการเลือกหรือฝึกควบคุมปฏิบัติในกระบวนการการ เรียน
ขั้นที่ 2:  ผู้เรียนที่มีความสนใจใส่ใจ
ในขั้นนี้ ผู้เรียนจะแสดงผลตอบสนองในเชิงบวก ต่อแรงกระตุ้นหรือทิศทางที่ครูกำหนด อย่างไรก็ตามแทนทีการให้ทิศทางแบบกำหนดตายตัว ครูสามารถเชื่องต่อความสนใจของนักเรียนกับบริบทการเรียนได้อย่างประสบความ สำเร็จ มีการตอบรับอย่างดี และสร้างบรรยากาศที่ดีในห้องเรียนหรือในชุมชนการเรียนรู้ ทั้งหมดนี้เป็นการตอกย้ำว่านักเรียนสนใจและมีความกระตือรือร้น
ขั้นที่ 3: ผู้เรียนที่มีส่วนร่วม
ในขั้นที่ 3 นี้ นักเรียนได้พัฒนาไปมากแล้ว นักเรียนจะเห็นว่าตนเองเป็นผู้มีส่วนร่วมในการเรียนรู้ของตนเองมากขึ้นและ มากขึ้น เห็นคูรค่าของประสบการณ์ชีวติที่ตนเองประสบมา และพร้อมกันนั้นจะเห็นคุณค่าของการเรียนรู้จากประสบการณ์ของผู้อื่น ผู้เรียนจะตอบสนองอย่างดีต่อการสอนแบบเกื้อกูลกัน
ขั้นที่ 4: ผู้เรียนที่สามารถกำหนดทิศทางตัวเองได้
ในขั้นนี้ ผู้เรียนสามารถกำหนดเป้าหมายของตัวเอง วางแผน และตั้งมาตรฐานได้ ผู้เรียนจะรับรู้ถึงความสามารถในการเรียนรู้อย่างอิสระ และรับผิดชอบต่อการเรียนของตน ครูไม่ต้องคอยบรรยาย แต่เป็นผู้ให้คำปรึกษา ตรวจสอบพัฒนาการ ให้คำแนะนำในกระบวนการเรียนรู้
การเรียนแบบนักเรียนเป็นศูนย์กลางนี้เป็นรูปแบบที่นักเรียนเป็นจุดสนใจ ของกระบวนการเรียน อย่างไรก็ตามในการเรียนรู้รูปแบบนี้ไม่ได้หมายความว่าครูจะต้องหลบฉาก ปล่อยให้นักเรียนดำเนินการเรียนรู้ตามลำพัง แต่หมายถึงเมื่อครูวางแผนการสอน ครูต้องพิจารณาถึงทัศนคติและความต้องการของนักเรียน และทำให้ทิศทางของกระบวนการการเรียนเป็นประโยชน์แก่นักเรียน และยังหมายถึงครูต้องจัดการการสอนในวิธีที่ทำให้นักเรียนรู้สึกเป็นส่วน หนึ่งของการเรียน เห็นคุณค่าต่อกระบวนการการเรียน และสามารถควบคุมการเรียนรู้ของตัวเองได้ การทำให้การเรียนรู้แบบนักเรียนเป็นศูนย์กลางเกิดขึ้นและใช้ได้จริงเป็นความ ท้าทายอย่างยิ่งของศตวรรษที่ 21 ขั้นตอนการประสานรูปแบบนี้เข้ากับระบบการ ศึกษาของเราต้องอาศัยการทำงานหนักและความพยายามอย่างยิ่ง จากครูและนักเรียนเช่นกัน
กุญแจสำคัญในการทำให้รูปแบบกาเรียนรู้นี้เกิดขึ้นจริงได้ ในส่วนของครู การศึกษาและใส่ใจกับหลักการของรูปแบบ และเห็นคุณค่าของรูปแบบนี้อย่างแท้จริงนั้นสำคัญยิ่ง จากการเข้าใจที่ถูกต้อง ครูจะสามารถเปลี่ยนความเชื่อและวิธีปฏิบัติเดิมๆ ครูจะสามารถตั้งเป้าหมายและมาตรฐานใหม่ ยังจะสามารถวางแผนการสอน โดยคำนึงถึงอะไรคือสิ่งที่ดีที่สุดสำหรับนักเรียน ในการเปลี่ยนแปลงนี้ครูยังสามารถพัฒนาตนเองและพัฒนาวิชาชีพตนเองด้วย เช่นเดียวกันในส่วนของผู้เรียน นักเรียนจะได้รับคำชี้แนะจากครู ต้องปรับตัวให้เข้ากับรูปแบบและกระบวนการเรียนรู้ใหม่นี้ นักเรียนต้องตระหนักว่าหากยังต้องการยืนอยู่ในโลกที่เปลี่ยนแปลงอย่างรวด เร็ว และอยู่บนโลกแห่งตลาดการแข่งขันที่มีความต้องการแรงงงานที่ได้รับการศึกษา ที่มีทักษะการคิดวิเคราะห์ การแก้ปัญหา การตัดสินใจได้ นักเรียนต้องเปลี่ยนวิธีปฏิบัติที่ทำมาทั้งชีวิตที่เป็นผู้รับมาตลอด ให้เป็นผู้กระตือรือร้นในการเรียน นักเรียนต้องติดอาวุธทักษะนี้ให้ตนเอง มีบทบาทควบคุมการเรียนรู้ เป็นผู้เรียนรู้ที่เป็นอิสระ (สามารถเรียนรู้ได้ด้วยตนเอง) และท้ายที่สุด ความหวังที่จะเห็นครูและนักเรียนสอนและเรียนร่วมกันในห้องเรียนจะนำไปสู่ บรรยากาศการเรียนรู้ที่มีประสิทธิผลและมีค่ายิ่ง
เอกสารอ้างอิง
Authentic assessment. (2001). Retrieved April 19, 2003, from
http://www.funderstanding.com
Bansberg, B. (2003). Applying the learner-centered principles to the
special case of literacy. Theory into Practice, 42 (2), 142-147.
Bush, T., & Saye, J. (2000). Implementation and evaluation of a
student-centered learning unit: A case study. Educational
Technology, Research and Development, 48 (3), 79-91.
Fink, L. D. (2002). Active learning. Retrieved April 5, 2003, from
http://www.hcc.hawaii.edupage 70 SLLT 2003
Glassglow, N. (1997). New curriculum for new times: A guide to
student-centered, problem-based learning. Thousand Oaks, CA:
Corwin.
Kohonen, V. (1992). Experiential language learning: Second language
learning as cooperative learner education. In D. Nunan (Ed.),
Collaborative language learning and teaching (pp. 17-32).
Cambridge: Cambridge University Press.
Mehan, H. (1979). Learning lessons. Cambridge, MA: Harvard
University Press.
North Central Regional Educational Laboratory (NCREL). (2003).
Focus on student-centered learning/Support professional
development. Retrieved March 27, 2003, from
http://www.ncrel.org
Preparing tomorrow’s teachers to use technology. (2003). Retrieved

 

การเรียนแบบนักเรียนเป็นศูนย์กลาง : ทำความเข้าใจตำนานอย่างลึกซื้ง
อาจารย์ชุติมา ธรรมรักษา
ครูเป็นศูนย์กลาง หรือ ครูเป็นหลักโดยตรงเป็นศูนย์กลางของการศึกษาประเทศไทยมาช้านาน แนวปฏิบัติดังกล่าวได้วางรากฐานการเรียนแบบตามบทเรียน หรือ การเรียนแบบจดจำ มากกว่าเรียนเพื่อพัฒนาทักษะการคิดของผู้เรียน ข้อบกพร่องของระบบดังกล่าว เห็นได้จากความไม่กระตือรือร้นของผู้เรียนที่ขาดทักษะการคิดเชิงวิเคราะห์ และไม่มีความคิดสร้างสรรค์  จากการตระหนักถึงข้อบกพร่องนี้ กระทรวงศึกษาธิการได้ริเริ่มการปฏิรูประบบการศึกษาครั้งสำคัญขึ้น จากรูปแบบที่ครูเป็นศูนย์กลางแบบดั้งเดิมสู่แนวทางการให้นักเรียนเป็นศูนย์ กลาง ด้วยมุ่งหวังจะผลิดผู้เรียนที่มีศักยภาพ มีสมรรถณะ มีความเป็นตัวของตัวเอง และสามารถเรียนรู้อย่างยั่งยืนได้ และจะสามารถยืนอยู่บนโลกแห่งการแข่งขันนี้ได้
อย่างไรก็ตาม การเปลี่ยนแปลงต่างๆ ที่เป็นผลมาจากการนำนโยบาย นักเรียนเป็นศูนย์กลางมาปฏิบัติใช้ ได้ทำให้คุณครูจำนวนไม่น้อยสับสบและงุนงงกับบทบาทและแนวทางการสอนของตนเอง บทความที่จะนำเสนอต่อไปนี้ต้องการที่จะสร้างความกระจ่าง ชี้แจงข้อสงสัยดังกล่าวโดยการให้นิยามและคำจำกัดความของแนวคิดต่างๆ และยังจะนำเสนอตัวอย่างจากแง่มุมต่างๆ ที่ตรงประเด็นกับแต่ละแนวคิดด้วย
บทนำ
ประเด็นเรื่อง นักเรียนเป็นศูนย์กลาง หรือผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง ได้กลายเป็นที่สนใจของนักการศึกษา โรงเรียน วิทยาลัยครู ในช่วงหลายปีที่ผ่านมา ในความเป็นจริงแล้วแนวคิด “นักเรียนเป็นศูนย์กลางการเรียนรู้” ไม่ได้รับการกล่าวถึงไม่มาก กระทั้งในพระราชบัญญัติการศึกษา ปี 2542 นักเรียนเป็นศูนย์กลางการเรียนรู้กลายเป็นประเด็นหลักในการปฏิรูป การศึกษา แนวคิดใหม่นี้ ได้ถูกคาดหวังว่า จะเป็นตัวช่วยเพิ่มประสิทธิภาพให้แก่ประชากรไทย ให้อยู่รอดได้ในสังคมที่มีการแข่งขันเพิ่มขึ้น ในระบบเศรษฐกิจที่ความรู้เป็นตัวขับเคลื่อน และในโลกของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
แม้จะได้รับความสนใจอย่างมาก อย่างไรก็ตาม สิ่งที่ตามมาคือความสับสนและความไม่มั่นใจในกระบวนทัศน์การเรียนการสอนภายใน แนวคิดและแนวทางใหม่นี้ คุณครูบางท่านมองแนวคิดใหม่นี้ว่าเป็นการคุกคามระบบ ครูเป็นศูนย์กลาง หรือ ครูเป็นผู้นำ ที่มีมายาวนาน ในขณะเดียวกันบางท่านเกรงว่าแนวคิดใหม่นี้จะลดบทบาทที่สำคัญของครูในชั้น เรียน และเช่นกัน นักเรียนเอง บางคนก็ไม่สบอารมณ์กับแนวคิดใหม่นี้ อย่างที่เราได้เห็นตามรายงานข่าวในหน้าหนังสือพิมพ์ล่าสุดนี้ ที่ว่า “แนวคิด นักเรียนเป็นศูนย์การการเรียนรู้ เปรียบได้กับ “ควาย” เป็นศูนย์กลางการเรียนรู้”  ตามจริงแล้ว คำว่า “ควาย” สำหรับคนไทยเราหมายถึง วัวตัวใหญ่ที่ใช้ในการลากไถช่วยเหลือชาวนา หากเมื่อใช้กับคนหรือกับแนวคิดนั้น มีความหมายเป็นนัยยะ เปรียบเทียบคนหรือแนวคิดนั้นว่า โง่เขลา
การกล่าวว่าระบบ นักเรียนเป็นศูนย์กลาง ก็คือ ระบบ “ควาย” เป็นศูนย์กลางนั้น เป็นการบอกให้ทราบว่าระบบนี้เป็นระบบที่ไม่เป็นประโยชน์ เป็นเรื่องน่าผิดหวัง และมันจะไม่ช่วยนักเรียนให้ฉลาดขึ้น แต่กลับจะระงับการพัฒนาของเด็กๆ คำวิพากย์วิจารณ์นี้แสดงให้เห็นชัดเจนว่ารูปแบบการเรียนการสอนนี้ล้มเหลว ไม่ใช่ด้วยตัวรูปแบบเอง แต่เป็นผลมาจากการตีความที่ผิดๆ การนำไปปฏิบัติที่ผิดๆ และการต่อต้านรูปแบบการเรียนการสอนใหม่
แม้จะมีการอธิบายเชิงลายลักษณ์อักษรเรื่องนักเรียนเป็นศูนย์กลางการ เรียนรู้ แต่อาจกล่าวได้ว่าครูส่วนใหญ่ยังไม่เชื่อว่าจะเป็นวิธีในการเสริมสร้าง คุณภาพการเรียนรู้ของนักเรียน ที่แย่ไปกว่านั้น ครูไม่มั่นใจถึงขั้นตอนการปฏิบัติ หรืออะไรที่ควรปฏิบัติเพื่อให้แนวคิดนี้เกิดขึ้นและปฏิบัติได้จริง คำถามมากมายเรื่องความเป็นไปและการบังคับใช้ของการสอนแนวใหม่นี้ได้ถูกหยิบ ยกขึ้นมาอย่างกว้างขวางในสังคมของคุณครู ดังนั้น เอกสารฉบับนี้จึงพยายามให้ความกระจ่าง วิเคราะห์หลักการและแง่มุมต่างๆ ของแนวคิด นักเรียนเป็นศูนย์กลาง ผ่านคำถามที่มักถูกเอ่ยถึงหรือถามถึงมากที่สุด ได้แก่
อะไรคือการเรียนรู้ แบบนักเรียนเป็นศูนย์กลาง
คำตอบคือเพียงแค่เอานักเรียนมาเป็นศูนย์กลางในการเรียนรู้ หรือรูปแบบที่นักเรียนถูกวางไว้เป็นแกนหลักในกระบวนการการเรียนรู้ เริ่มกันตั้งแต่ ความต้องการของนักเรียน ความเห็นของนักเรียน ภูมิหลังของนักเรียน และจุดประสงค์ของนักเรียน สิ่งเหล่านี้ต้องได้รับความสนใจและมีส่วนร่วมในบริบทการเรียนรู้ ภายใต้รูปแบบนี้ ครูจะเป็นผู้ชี้แนะโดยดูว่าอะไรเหมาะสมกับนักเรียนที่สุด เมื่อช่วยเหลือให้นักเรียนเรียนและตัดสินใจ
หลักการของ นักเรียนเป็นศูนย์การการเรียนรู้มีที่มาจากหลากหลายรูปแบบ เริ่มต้นพัฒนาการมาจากทฤษฏีการเรียนรู้สามารถสร้างได้ ที่เชื่อว่าเราสามารถจัดโครงสร้างให้กับความรู้ได้อย่างมีเอกภาพและมี เอกลักษณ์ได้ในหลากหลายทาง (Vygotsky, 1978, cited in Bush & Saye, 2000) และยังพัฒนาการมาจากการเรียนรู้จากประสบการณ์ กล่าวคือการสอนคือการส่งผ่าน สืบต่อของความรู้ที่มีอยู่แล้ว (Kohonen, 1992) และการเรียนรู้ และมาจากรูปแบบการเรียนรู้อย่างกระตือรือร้น ที่เสนอให้กิจกรรมการเรียนรู้ทุกกิจกรรมต้องมีการปฏิบัติเพื่อให้ได้ ประสบการณ์ตรง หรือต้องมีการโต้ตอบ อย่างเป็นการโต้ตอบกับตัวเองหรือผู้อื่น (Fink, 2002).SLLT 2003 page 61
อะไรคือหน้าตาและลักษณะของการเรียนรู้แบบนักเรียนเป็นศูนย์ กลาง
จากพื้นฐานของรูปแบบต่างๆ ที่การเรียนรู้แบบนักเรียนเป็นศูนย์กลางพัฒนามาจาก ได้ก่อให้เกิดลักษณะดังต่อไปนี้
–       มุ่งเน้นไปที่ให้มีการเรียนรู้อย่างมีการโต้ตอบ ใช้แนวคิดต่างๆ ร่วมกันเพื่อเชื่องต่อการเรียนรู้ใหม่กับการเรียนรู้เดิม กระตุ้นความสนใจและสิ่งที่เชื่องโยงกัน เปิดโอกาสให้ผู้เรียนหรือนักเรียนมีทางเลือกและควบคุม ปรับเปลี่ยน เพื่อความต้องการในการพัฒนาที่แตกต่างกันของแต่ละคน พร้อมกันนั้นยังให้การดูแลและสร้างบรรยากาศการที่ส่งเสริมการเรียนรู้
–       จัดโครงสร้างความรู้โดยผ่านการเรียนรู้ที่แท้จริง คือการเรียนในบรรยากาศจริงหรือในบริบทที่ความรู้เกิดขึ้นหรือถูกสร้างขึ้น หรือจะกล่าวได้อีกอย่างว่า เชื่อมต่อประสบการณ์การเรียนรู้ในโรงเรียนกับสถานการณ์ของโรลกความจริงนั้น เอง
–       นักเรียนมีส่วนร่วมในขั้นตอนการเรียนรู้ มากกว่าการเป็นผู้รับความรู้ นักเรียนจะได้รับโอกาสในการมีส่วนร่วมและเพิ่มความรู้สึกรับผิดชอบเพื่อให้ ทราบถึงทิศทางการเรียนรู้ของตัวเองและความต้องการในการเรียนรู้ของตนเอง รู้แหล่งของการเรียนรู้ และจัดโครงสร้างความรู้ตามความต้องการของตัวเอง
–       จัดกิจกรรมในชั้นเรียนและโครงงานที่แตกต่าง เพื่อให้ผู้เรียนหรือนักเรียนได้มีทางเลือกหลากหลายในการคัดสรรตามความต้อง การของนักเรียนแต่ละคน เป็นผลมาจากการตระหนักว่านักเรียนแต่ละคนมีศักยภาพต่างกัน มีความชื่นชอบในรูปแบบการเรียนรู้และมียุทธวิธีในการเรียนรู้ที่ต่างกัน
–       บรรยากาศในการเรียนรู้ กล่าวคือการเรียนรู้ควรเกิดขึ้นได้ทุกที่ และทุกเวลา ทั้งในรูปแบบต่างและในความหมายต่างๆ ที่สามารถสร้างสรรค์ได้ บรรยากาศการเรียนรู้เช่นนี้จะช่งยสร้างเสริมให้นักเรียนมีส่วนร่วมและมีความ รับผิดชอบในการศึกษาของตน ดังนั้นนักเรียนได้ถูกเตรียมตัวในบรรยากาศที่แท้จริงด้วยกิจกรรมนอกห้อง เรียนที่จะเพิ่มการเรียนรู้ของนักเรียนในมิติต่างๆ
–       นักเรียนถูกกระตุ้นจากภายใน (มีแรงจูงใจของตัวเอง) มากกว่าถูกกระตุ้นจากภายนอก (แรงจูงใจจากภายนอก) หรือกล่าวง่ายๆ ว่านักเรียนมีแรงจูงใจจากภายในไม่ใช่จากภายนอก ยกตัวอย่างเช่น นักเรียนพิมพ์รายงานส่งเพราะนักเรียนต้องการสร้างความภูมิใจให้งานของตัวเอง ไม่ใช่ต้องการให้คนอื่นชื่นชมวิธีการนำเสนอนี้
ทำไมต้องเปลี่ยนมาเป็นรูปแบบการเรียนรู้ใหม่นี้
การเรียนรู้แบบดั้งเดิมมีปัญหาอะไรหรือ
เพื่อเป็นการตอบคำถามสองข้อนี้ เราต้องมองย้อนกลับไปถึงการวิเคราะห์ธรรมชาติของการเรียนรู้แบบดั้งเดิมที่ ครูเป็นศูนย์กลางก่อน และดูถึงผลที่ได้รับจากการเรียนรู้แบบดั้งเดิมต่อผู้เรียน เพื่อให้เข้าใจว่าทำไมแนวทางการเรียนรู้แบบนักเรียนเป็นศูนย์กลางจึงควรได้ รับการสนับสนุนให้เป็นทางเลือกใหม่
แนวคิด ครูเป็นศูนย์กลาง ได้รับอิทธิพลมาจากแนวความคิดที่ว่าองค์ความรู้นั้นคือบางอย่างที่สามารถส่ง ต่อจากครูสู่นักเรียนได้ เสมือนการเรียนรู้แบบสองมิติ โดยโครงสร้างว่าครูสู่นักเรียน  ในห้องเรียนครูเสมือนเป็นบุคคลที่ได้รับมอบ หมายให้มีหน้าที่พัฒนาความรู้และทักษะ ประเมินและแก้ไขการปฏิบัติของผู้เรียนตามกฏเกณฑ์ที่ครูท่านนั้นได้ตั้งขึ้น ไว้ นักเรียนคือผู้รับความรู้และคาดหวังว่าครูจะควบคุมจัดการเบ็ดเสร็จในกระบวน การเรียนรู้นั้น ดังนั้น กระบวนการเรียนรู้ที่ปฏิบัติในห้องเรียนแบบไม่มีการโต้ตอบที่ใช้กันทั่วไป นี้มีการประยุกต์มาจาก IRE คือ ครูริเริ่ม นักเรียนตอบสนอง และครูประเมินผล (Mehan,1979)
ในรูปแบบ IRE ครูผู้สอนจะอยู่ด้านหน้าของชั้นเรียนเสมอ ให้ความรู้ ถามนักเรียนเพื่อให้นักเรียนแสดงว่าเข้าใจความรู้ที่เพิ่งสอนไป จากนั้นประเมินผลการปฏิบัติหรือคำตอบของนักเรียน การสอนแบบครูเป็นศูนย์กลางนี้ยังรากลึกในสังคมไทย สังคมที่ระบบ “ผู้ใหญ่ ผู้น้อย” เป็นคุณค่าสำคัญของสังคม เนื่องจากคนไทยให้ความสำคัญกับการที่ผู้น้อยควรเคารพผู้ใหญ่ ตามลำดับ และเกี่ยวข้องกับเรื่องอำนาจสิทธิ์ขาด (Williams, 1980)  ดังนั้นครู ผู้ที่มีสถานะสูงกว่านักเรียน ผู้ที่ถือได้ว่าเป็นพ่อแม่คนที่สอง หน้าที่ของครูมิใช่เพียงสั่งสอนความรู้ สั่งสอนคุณธรรม และกล่อมเกลานักเรียนให้เป็นพลเมืองที่ดีของชาติด้วย ด้วยภาพลักษณ์ที่คนทั่วไปมองครูว่าเป็น “ผู้รู้โดยชอบธรรม” ผู้ประสิทธิ์ประสาสตร์ความรู้เช่นนี้แล้ว ไม่ต้องกล่าวเลยว่าในกระบวนการเรียนรู้ ครูจึงผู้วางไว้เป็นศูนย์กลาง ไม่ใช่ผู้เรียนหรือนักเรียนเป็นศูนย์กลาง
ด้วยปัจจัยทั้งสองที่กล่าวมาแล้วคือระบบ ผู้ใหญ่ ผู้น้อยของสังคม และรูปแบบการส่งทอดทางการศึกษานี้ เราก็จะเข้าใจได้ชัดเจนขึ้นว่าทำไมครูไทยจึงจำเป็นต้องคงภาพลักษณ์ความเป็น “ผู้รู้โดยชอบธรรม” ด้วยการยึดรูปแบบการเรียนการสอน แบบครูยืนหน้าห้อง และการสอนแบบ IRE ไว้
อย่างไรก็ตาม โชคร้ายมากที่ระบบการสอนที่ครูไทยนิยมปฏิบัตินี้มีข้อเสียอย่างมาก รูปแบบนี้ได้ส่งให้ผู้เรียนเป็นผู้รับความรู้โดยไม่โต้ตอบ เป็นผู้ฟัง จำ และซึบซับข้อมูลที่ส่งมาโดยผู้รู้ นักเรียนไม่ใช่ผู้ริเริ่ม หรือผู้มีข้อสงสัยต่อสิ่งที่เรียนรู้
นักเรียนไม่ได้ถูกฝึกให้ใช้ความคิดอย่างวิเคราะห์ วิจารณ์หรือสะท้อนเปรียบเทียบ ซ้ำร้ายไปกว่านั้น ระบบการศึกษานี้ไม่ได้เตรียมนักเรียนให้เป็นผู้เรียนรู้อย่างอิสระ ที่ตระหนักว่าความรู้มีโครงสร้งและสามารถเรียนได้หลายรูปแบบ นักเรียนไม่ตระหนักเห็นคุณค่าของการเรียนรู้ ไม่ตระหนักว่าการเรียนรู้เป็นกระบวนการต่อเนื่องตลอดชีวิต ทั้งยังไม่เข้าใจว่าไม่มีคนอื่นที่มีส่วนรับผิดชอบการเรียนรู้ของตนเองนอก จากตัวผู้เรียนเอง
เพื่อให้เท่าทันโลกที่เปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็วของข้อมูลข่าวสารและ เศรษฐกิจที่ต้องการทักษะการคิดวิเคราะห์ เราต้องเสริมสร้างนักเรียนของเรา เราต้องสร้างให้นักเรียนของเราคิดอย่างวิเคราะห์และคิดอย่างอิสระ และรู้รับผิดชอบ และมีส่วนร่วมกับการเรียนรู้ของเขา นักเรียนต้องสามารถกำหนดทิศทางของตัวเองและเป็นผู้มีส่วนร่วมที่กระตือ รือร้นในบริบทการเรียนรู้เชิงวิชาการนี้ ด้วยความสำคัญเหล่านี้ ถึงเวลาแล้วที่เราต้องพัฒนาการให้ความรู้จากแบบสองมิติ ครูสู่นักเรียน ไปเป็นโครงสร้างแบบนักเรียนเป็นศูนย์กลางการเรียนรู้เชิงสามมิติ ที่ที่นักเรียนและครูมีส่วนร่วมในการพัฒนาโครงงาน ตามคำกล่าวของ วาตานาเบ (1999) “เราต้องอนุญาตให้การมีส่วนร่วมเชิงลึกในกระบวนการเรียนรู้ ผ่านนักเรียนละครูอย่างเข้มแข็ง การมีส่วนร่วมที่เปิดโอกาสให้เกิดการสร้างสรรค์อย่างไม่มีข้อจำกัด”
จะทำให้การการเรียนรู้แบบนักเรียนเป็นศูนย์กลางปฏิบัติได้จริง อย่างไร
อย่างที่กล่าวมาแล้วขั้นต้น ครูเป็นศูนย์กลางเป็นแกนสำคัญของระบบการศึกษาของเรามาช้านาน ดังนั้น ความตั้งใจในการทำให้การเรียนรู้แบบนักเรียนเป็นศูนย์กลางเกิดขึ้นได้จริง นั้น สิ่งแรกคือการต้องทำคือการแก้ไขทัศนคติการเรียนการสอน ทัศนคติเดิมๆ ที่เน้นให้ความรู้เป็นวัตถุที่สามารถส่งต่อกันได้ การสอนคือการนำเสนอความรู้ และการเรียนคือการซึบซับความรู้ ทั้งหมดนี้ต้องได้รับการปฏิรูป เราต้องนำทัศนคติและแนวคิดใหม่เข้าไป ทัศนคติที่ว่าความรู้เป็นสิ่งสามารถจัดโครงสร้างได้ การสอนคือการจัดบรรยากาศและสิ่งแวดล้อมที่เอื้อให้เกิดการเรียนรู้ และการเรียนรู้คือกระบวนการของการเรียนรู้ว่าจะเรียนอย่างไร  ตามรูปแบบการ เรียนรู้ใหม่นี้ นักเรียนและครูต้องปรับบทบาทและหน้าที่ใหม่ เพื่อให้เข้ากับกระบวนการเรียนรู้ โครงร่างคร่าวๆ ของการปรับบทบาทดังกล่าวมีดังต่อไปนี้
บทบาทของครู
บทบทของครูในห้องเรียนแบบนักเรียนเป็นศูนย์กลางการเรียนรู้นั้นมีคุณ ค่าและต้องมีความพิถีพิถันมากกว่ารูปแบบเดิมที่ให้ครูเป็นศูนย์กลาง
ครูมีความจำเป็นต้องปฏิบัติดังนี้
  • เปลี่ยนจากผู้มีอำนาจและนำเสนอความรู้ทั้งหมด มาเป็นผู้ให้คำแนะนำ ชี้แนะ ผู้สร้างบรรยกาศที่นักเรียนจะสามารถมีแรงจูงใจ สนใจและตั้งข้อสงสัยเกี่ยวกับบทบาทของตัวเองในการเรียนรู้
  • สร้างบรรยากาศในการเรียนรู้ที่จะสร้างแรงจูงใจและท้าทายผู้เรียน กระตุ้นการคิดอย่างวิเคราะห์และสร้างกระบวนการเรียนรู้อย่างมีโครงสร้าง ยกตัวอย่างเช่น ครูสามารถเสริมสร้างทักษะการคิดของผู้เรียนผ่านการทำกิจกรรม เช่น การหาเหตุผล การตัดสินใจ การสะท้อนความคิด การพูดโน้มน้าวและการแก้ปัญหา กิจกรรมเหล่านี้กระตุ้นนักเรียนให้มีส่วนร่วมทั้งทางกายภาพและความเข้าใจใน เนื้อหากิจกรรม โดยเฉพาะอย่างยิ่ง กิจกรรมที่กล่าวมาในช่วงท้ายๆ สามารถสร้างบรรยากาศที่เปิดโอกาสให้นักเรียนทบทวนปัญหาที่ซับซ้อน ให้ทรัพยากรจากหลากหลายแหล่ง พัฒนายุทธวิธีของตนเองในการเข้าใจปัญหา และสามารถนำเสนอและต่อรองเพื่อให้ได้ทางออกของปัญหาด้วยอาศัยความร่วมมือกัน ได้
  • ส่งเสริมการเรียนรู้แบบเกื้อกูลกัน การส่งเสริมและเกื้อกูลกันระหว่างนักเรียนเป็นองค์ประกอบสำคัญในรูปแบบการ เรียนรู้แบบนักเรียนเป็นศูนย์กลาง ทำงานเป็นทีม ตามงานวิจัยของ โคโฮเนน การเรียนรู้อย่างเกื้อกูลกันจะสามารถสร้างการพึ่งพากันในเชิงบวกและความรับ ผิดชอบส่วนตัวแก่ผู้เรียนได้ เมื่อสมาชิกในทีมได้มีส่วนร่วมออกความเห็น ลงแรง และรับผิดชอบร่วมกันในการช่วยเหลือเพื่อนร่วมทีมในการเรียนรู้ การประสานงานกันยังสามารถสร้างเสริมให้ผู้เรียนเติบโต พัฒนาทักษะการเข้าสังคมและการเรียนรู้ และช่วยให้ผู้เรียนจิตนาการถึงโครงสร้างความรู้ของตนเอง โดยผ่านการแลกเปลี่ยนความคิดเห็น
  • ยอมรับความแตกต่างของแต่ละคน แต่ละคนมีรูปแบบการเรียนรู้ต่างกัน ครูควรจัดกิจกรรมที่หลากหลาย ให้ทางเลือกแก่ผู้เรียนในการเลือกและลงรายละเอีอดกิจกรรมของตัวเอง เป็นรายบุคคลไป
  • สนับสนุนความคิดที่ว่าแหล่งความรู้ไม่ได้ปิดกั้นอยู่เพียงในเขตกำแพงของ ห้องเรียนเท่านั้น ความรู้อาจอยู่ข้างนอก ยกตัวอย่างแหล่งความรู้นอกห้องเรียน อาจรวมถึง พ่อแม่ ผู้ใหญ่ในชุมชน บรรณารักษ์ พิพิธภัณฑ์ โบราณสถาน โบราณวัตถุ หรือแม้แต่อินเตอร์เน็ท
  • นำ “การประเมินผลตามจริง” มาใช้ (“Authentic Assessment,” 2001) หรือการประเมินผลที่ทบทวนความสามารถในการร่วมมือกันของนักเรียน มีเกณฑ์อ้างอิงได้ และขึ้นอยู่กับการปฏิบัติได้จริง มากกว่าการประเมินตามเกณฑ์มาตรฐาน
  • นำเอาประสบการณ์ที่แตกต่างของผู้เรียน จากหลากหลายสาขาและพื้นฐานมามีส่วรร่วมในการเรียนรู้ และสำคัญยื่งไปกว่านั้นคือการทำการเรียนการสอนเป็นทีม เพื่อให้ได้ผู้การเรียนแบบบูรณาการ ยกตัวอย่างเช่น ครูที่มีความชำนาญเฉพาะทางที่แตกต่างกัน เช่น การท่องเที่ยว ชีววิทยา สามารถทำงานร่วมกัน สามารถสร้างสาระวิชาใหม่ขึ้นเพื่อปูพื้นฐานเบื้องต้นเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม
  • สร้างความเชื่องโยงระหว่างความรู้และประสบการณ์เดิมที่นักเรียนมีอยู่ กับการเรียนรู้ใหม่ ทั้งนี้ต้องตระหนักว่าประสบการณ์การเรียนรู้ที่เป็นประสบการณ์ส่วนบุคคลของ นักเรียนแต่ละคนนั้นเรียนรู้ได้ง่ายแต่มักถูกหลงลืมง่ายเช่นกัน
บทบาทของนักเรียน
ในทิศทางใกล้เคียงกัน นักเรียนมีบทบาทสำคัญมากในกระบวนการเรียนรู้ นักเรียนไม่สามารถมองเห็นว่าตนเองเป็นแก้วที่ว่างเปล่ารอการเติมเต็ม ในทางกลับกัน นักเรียนต้องปฏิบัติดังนี้
  • เปลี่ยนจากความเชื่อเดิมที่ว่า “ความรู้ถูกส่งผ่านโดยครู” มาเป็นความเข้าใจใหม่คือ “ความรู้ที่สร้างได้” และตระหนักว่านักเรียนมีส่วนรับผิดชอบในการสร้างองค์ความรู้ของตัวเอง
  • เปลี่ยนจากการเป็นผู้รับสาระทางเดียว มาเป็นผู้มีส่วนร่วมในการเรียนรู้ที่กระตือรือร้น และใส่ใจในกิจกรรมและในแง่มุมต่างๆ ในการเรียนรู้ (ทั้งทางกายภาพและความเข้าใจ) ว่าทั้งหมดนั้นถือเป็นหน้าที่ของครูโดยทั่วไปของครูในกิจกรรมการสอนแบบเดิม
  • ตั้งเป้าหมายที่มีความหมายเมื่อจบกิจกรรมการเรียนรู้นี้ สร้างความรับผิดชอบให้ตัวเองมากขึ้นในการบรรลุเป้าหมายนั้น เคยประเมินพัฒนาการ เพื่อจะได้ปรับยุทธศาสตร์การเรียนรู้ที่ตนใช้เพื่อการบรรลุเป้าหมายอย่างมี ประสิทธิภาพ
การใช้เทคโนโยลีเป็นองค์ประกอบสำคัญใรการเรียนรู้แบบนักเรียน เป็นศูนย์กลางหรือไม่
ไม่ต้องสงสัยเลยว่าในศตวรรษที่ 21 เทคโนโลยีมีความสำคัญเพิ่งขึ้นอย่าง ยิ่ง มีผลกับไม่เพียงแต่กับวิถีการใช้ชีวิตของเรา การดำเนินธุรกิจ การสื่อสารกับคนอื่น แต่ยังมีผลกับวิธีการเรียนการสอนของเรา จากเอกสารของ ทซัง โคส์มา กล่าวว่าโลกธุรกิจเรียกร้องให้โรงเรียนเตรียมนักเรียนนักศึกษาให้มีทักษะ พร้อมทำงานเป็นทีม สามารถแก้ปัญหาได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถปฏิบัติงานและประมวลข้อมูล และสำคัญยิ่งกว่านั้นคือ สามารถใช้เทคโนโลโยลีได้อย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อการผลิตและการปฏิบัติอย่างเต็มกำลัง ยกตัวอย่างเช่น ความท้าทายและเป้าหมายการศึกษาของโรงเรียนควรมุ่งเน้นการสร้างบรรยากาศการ เรียนรู้ที่นำเทคโนโลยีมาร่วมใช้ พร้อมทั้งปลูกฝังทักษะที่จำเป็นต่างๆ เพื่อช่วยนักเรียน
หากนำเทคโนโลยีมาใช้อย่างถูกต้อง เทคโนโลยีที่กล่าวนี้เช่น สื่อการฟัง สื่อภาพเคลื่อนไหว คอมพิวเตอร์อินเตอร์เน็ท จะช่วยเสริมบรรยากาศการเรียนโดยใช้เทคโนโลยีเหล่านี้อย่างมีประสิทธิภาพ ใช้ให้เป็นเช่นสื่อหรือเครื่องมือในการสร้างเสริมการเรียนของนักเรียน คุณประโยชน์ของเทคโนโลยีในการศึกษาได้ถูกกล่าวไว้คร่าวๆ โดยNCREL (2003)
  • เทคโนโลยีสามารถเปลี่ยนบริบทกิจกรรมการเรียนจากครูเป็นศูนย์กลางสู่นัก เรียนเป็นศูนย์กลาง ให้นักเรียนควบคุมบริบทการเรียนของตัวเองมากขึ้น สร้างสรรค์บรรยากาศการเรียนอย่างเกื้อกูลกัน และมีการอำนวยความสะดวกให้เข้าถึงแหล่งข้อมูลและสื่อสารกับสังคมได้หลายวิธี โปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่สามารถโต้ตอบได้สามารถเป็นตัวนำที่ดีในรูปแบบการเรียน แบบผู้เรียนเป็นศูนย์กลางนี้
  • เทคโนโลยีสามารถสร้างกิจกรรมที่ทำให้ผู้เรียนได้ลองปฏิบัติจริง และเข้าใจอย่างแท้จริง โปรแกรมที่กระตุ้นให้นักเรียนฝึกทักษะการแก้ปัญหาทั้งทางกายภาพและจิตใจ กิจกรรมดังกล่าวสามารถสร้างความชำนาญในบริบทที่เสริมขึ้น ทำให้ทักษะพื้นฐานต่างๆ แข็งเกร่ง ช่วยให้นักเรียนพัฒนาไปในระดับที่สูงขึ้น เพิ่มจุดเชื่องต่อของโครงสร้างความรู้กับชีวิตนักเรียน สามารถแจ้งการประเมินผลแก่ผู้เรียน และที่ดีที่สุดคือสามารถสร้างแรงจูงใจนักเรียนได้ ยกตัวอย่างเช่น การใช้แบบเรียนอีเลคโทรนิค ที่เราเห็นกันบ่อยในรูปแบบของซีดี สามารถทำให้กิจกรรมการอ่านที่น่าเบื่อจากเอกสารสิ่งพิมพ์ให้เป็นกิจกรรมที่ ตื่นเต้นและมีการโต้ตอบได้
  • โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เทคโนโลยีอย่างอินเตอร์เนท เป็นเครื่องมือที่เหมาะกับผู้เรียนอย่างยิ่ง อินเตอร์เนทสามารถสร้างบรรยากาศการเรียนรู้ให้แก่ผู้เรียนด้วยการฝึกปฏิบัติ ฟังการประเมินเพื่อปรับปรุงความเข้าใจ สร้างองค์ความรู้ใหม่ และสะท้อนความคิด(“Preparing Tomorrow’s Teachers,” 2003).
อะไรจะเป็นอุปสรรคบ้างในการเรียนการสอนแบบนักเรียนเป็นศูนย์ กลาง
อุปสรรคที่อาจจะเกิดขึ้นในการนำรูปแบบการเรียนการสอนใหม่นี้ไปใช้ ได้แก่
  • ครูบางท่านปฏิเสธการปลี่ยนแปลง ด้วยความเชื่อเดิมๆ และการปฏิบัติที่คุ้นเคย การปฏิเสธนี้อาจเกิดขึ้นจากภาพลักษณ์ของ “ผู้รู้โดยชอบธรรม” หรือ “ผู้ประสิทธิ์ประศาสตร์ความรู้” ฝังอยู่ในหัว ครูเหล่านี้เห็นภาพด้วยเองว่าได้รับการมอบหมายให้สอน ชี้นำ อำนวยการและควบคุมนักเรียน ดังนั้นจึงกลัวที่จะทำสิ่งอื่นที่แตกต่างออกไป เห็นว่าการเปลี่ยนแปลงนี้ทำลายสถานะและอาชีพของตน
  • ครูจำนวนไม่น้อยไม่ยินดีที่จะปฏิบัติตามแนวทางใหม่ ด้วยเห็นว่าวิธีที่ตนเองใช้สอนอยู่นั้นดีอยู่แล้วดังนั้นจึงไม่เห็นความจำ เป็นที่จะต้องเปลี่ยน เหตุที่ครูเหล่านี้ยึดมั่นว่าวิธีที่ทำงานอยู่ปัจจุบันดีอยู่แล้ว ครูเหล่านี้จึงไม่เปิดตัวเองสู่ความคิดและความเป็นไปได้ใหม่ๆ
  • ครูบางท่านเร่งรีบที่จะใช้รูปแบบการสอนใหม่นี้ โดยยังไม่เข้าใจถึงหลักการที่แท้จริงหรือยังไม่มีโอกาสได้คิดถ้วนถี่ หรือยังไม่ได้วางแผนการสอนไว้ระมัดระวัง ครูเหล่านี้มีความประสงค์ที่แรงกล้าที่จะเปลี่ยน หากแต่ไม่ได้พิจาณณาถึงประเด็นทางวัฒนธรรมหรือพิจารณาถึงสภาพชั้นเรียนของตน
  • ครูบางท่านยังขาดความเข้าใจและทักษะในการประสานเทคโนโลยีเข้ากับการสอน น่าเสียดายที่ครูจำนวนมากมีความรู้ด้านคอมพิวเตอร์ค่อนข้างน้อยและไม่ใส่ใจ เรียนรู้เพิ่มเติม ในขณะที่บางท่านมีความต้องการหาความรู้ด้านคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีเพิ่ง เติมแต่ขาดอุปกรณ์และการสนับสนุน ครูเหล่านี้เห็นคุณค่าและประโชยน์ของคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีแต่รู้สึกอึด อัดเพราะท่านเหล่านี้ไม่ได้ถูกอบรมหรือฝึกฝนให้ใช้เทคโนโลยีเหล่านี้ในชั้น เรียน
  • อาจเกิดกรณีที่ครูพยายามตอบสนองความต้องการของนักเรียนอย่างจริงจัง แต่โครงสร้างขององค์กรหรือนโยบายการสถานศึกษาอาจไม่เอื้ออำนวย ซึ่งเป็นการขัดขวางความพยายามที่จะให้นักเรียนเป็นศูนย์กลางมากขึ้น
  • นักเรียนบางกลุ่มต่อต้านการเรียนการสอนแบบใหม่ เพราะนักเรียนต้องการหลักฐานที่ชัดเจนว่าตนเองได้ถูกสอนบางอย่าง นักเรียนเหล่านี้เห็นเช่นดียวกับครูบางท่านที่ว่า ความรู้ถูกส่งผ่านกันมา และจะรอการป้อนความรู้จากครูเท่านั้น
มีตัววัดอะไรบ้างที่จะบ่งชี้ว่ารูปแบบการเรียนรู้แบบนักเรียน เป็นศูนย์กลางประสบความสำเร็จ
วัตถุเป้าหมายสูงสุดของการเรียนแบบนักเรียนเป็นศูนย์กลางคือการทำให้ นักเรียนรู้จัดทิศทางของตนเอง และเป็นผู้เรียนรู้แบบบูรณาการ (เรียนรู้ได้ตลอดชีวิต) หมายถึงครูสามารถช่วยเหลือ ชี้แนวให้นักเรียนเปลี่ยนจากการเรียนแบบพึ่งพาผู้อื่นมาเป็นผู้ที่สามารถหา ความรู้เองได้ ความสำเร็จในการนำแนวทางการเรียนรู้นี้ไปปฏิบัติสามารถดูได้จากขั้นตอนการ พัฒนาของนักเรียน ตามลำดับดังต่อไปนี้(“Steps Toward,” 1996)
ขั้นที่ 1: ผู้เรียนที่ต้องพึ่งพา (ไม่สามารถหาความรู้ได้ด้วยตนเอง)
ในขั้นแรกนี้ ผู้เรียนจะพึ่งพาครู ครูผู้นำพาความรู้ ให้โครงสร้างและทิศทางว่าต้องทำอะไร อย่างไร และเมื่อไร สำหรับนักเรียน การเรียนคือครูเป็นศูนย์กลาง นักเรียนจะไม่ได้รับโอกาสในการเลือกหรือฝึกควบคุมปฏิบัติในกระบวนการการ เรียน
ขั้นที่ 2:  ผู้เรียนที่มีความสนใจใส่ใจ
ในขั้นนี้ ผู้เรียนจะแสดงผลตอบสนองในเชิงบวก ต่อแรงกระตุ้นหรือทิศทางที่ครูกำหนด อย่างไรก็ตามแทนทีการให้ทิศทางแบบกำหนดตายตัว ครูสามารถเชื่องต่อความสนใจของนักเรียนกับบริบทการเรียนได้อย่างประสบความ สำเร็จ มีการตอบรับอย่างดี และสร้างบรรยากาศที่ดีในห้องเรียนหรือในชุมชนการเรียนรู้ ทั้งหมดนี้เป็นการตอกย้ำว่านักเรียนสนใจและมีความกระตือรือร้น
ขั้นที่ 3: ผู้เรียนที่มีส่วนร่วม
ในขั้นที่ 3 นี้ นักเรียนได้พัฒนาไปมากแล้ว นักเรียนจะเห็นว่าตนเองเป็นผู้มีส่วนร่วมในการเรียนรู้ของตนเองมากขึ้นและ มากขึ้น เห็นคูรค่าของประสบการณ์ชีวติที่ตนเองประสบมา และพร้อมกันนั้นจะเห็นคุณค่าของการเรียนรู้จากประสบการณ์ของผู้อื่น ผู้เรียนจะตอบสนองอย่างดีต่อการสอนแบบเกื้อกูลกัน
ขั้นที่ 4: ผู้เรียนที่สามารถกำหนดทิศทางตัวเองได้
ในขั้นนี้ ผู้เรียนสามารถกำหนดเป้าหมายของตัวเอง วางแผน และตั้งมาตรฐานได้ ผู้เรียนจะรับรู้ถึงความสามารถในการเรียนรู้อย่างอิสระ และรับผิดชอบต่อการเรียนของตน ครูไม่ต้องคอยบรรยาย แต่เป็นผู้ให้คำปรึกษา ตรวจสอบพัฒนาการ ให้คำแนะนำในกระบวนการเรียนรู้
การเรียนแบบนักเรียนเป็นศูนย์กลางนี้เป็นรูปแบบที่นักเรียนเป็นจุดสนใจ ของกระบวนการเรียน อย่างไรก็ตามในการเรียนรู้รูปแบบนี้ไม่ได้หมายความว่าครูจะต้องหลบฉาก ปล่อยให้นักเรียนดำเนินการเรียนรู้ตามลำพัง แต่หมายถึงเมื่อครูวางแผนการสอน ครูต้องพิจารณาถึงทัศนคติและความต้องการของนักเรียน และทำให้ทิศทางของกระบวนการการเรียนเป็นประโยชน์แก่นักเรียน และยังหมายถึงครูต้องจัดการการสอนในวิธีที่ทำให้นักเรียนรู้สึกเป็นส่วน หนึ่งของการเรียน เห็นคุณค่าต่อกระบวนการการเรียน และสามารถควบคุมการเรียนรู้ของตัวเองได้ การทำให้การเรียนรู้แบบนักเรียนเป็นศูนย์กลางเกิดขึ้นและใช้ได้จริงเป็นความ ท้าทายอย่างยิ่งของศตวรรษที่ 21 ขั้นตอนการประสานรูปแบบนี้เข้ากับระบบการ ศึกษาของเราต้องอาศัยการทำงานหนักและความพยายามอย่างยิ่ง จากครูและนักเรียนเช่นกัน
กุญแจสำคัญในการทำให้รูปแบบกาเรียนรู้นี้เกิดขึ้นจริงได้ ในส่วนของครู การศึกษาและใส่ใจกับหลักการของรูปแบบ และเห็นคุณค่าของรูปแบบนี้อย่างแท้จริงนั้นสำคัญยิ่ง จากการเข้าใจที่ถูกต้อง ครูจะสามารถเปลี่ยนความเชื่อและวิธีปฏิบัติเดิมๆ ครูจะสามารถตั้งเป้าหมายและมาตรฐานใหม่ ยังจะสามารถวางแผนการสอน โดยคำนึงถึงอะไรคือสิ่งที่ดีที่สุดสำหรับนักเรียน ในการเปลี่ยนแปลงนี้ครูยังสามารถพัฒนาตนเองและพัฒนาวิชาชีพตนเองด้วย เช่นเดียวกันในส่วนของผู้เรียน นักเรียนจะได้รับคำชี้แนะจากครู ต้องปรับตัวให้เข้ากับรูปแบบและกระบวนการเรียนรู้ใหม่นี้ นักเรียนต้องตระหนักว่าหากยังต้องการยืนอยู่ในโลกที่เปลี่ยนแปลงอย่างรวด เร็ว และอยู่บนโลกแห่งตลาดการแข่งขันที่มีความต้องการแรงงงานที่ได้รับการศึกษา ที่มีทักษะการคิดวิเคราะห์ การแก้ปัญหา การตัดสินใจได้ นักเรียนต้องเปลี่ยนวิธีปฏิบัติที่ทำมาทั้งชีวิตที่เป็นผู้รับมาตลอด ให้เป็นผู้กระตือรือร้นในการเรียน นักเรียนต้องติดอาวุธทักษะนี้ให้ตนเอง มีบทบาทควบคุมการเรียนรู้ เป็นผู้เรียนรู้ที่เป็นอิสระ (สามารถเรียนรู้ได้ด้วยตนเอง) และท้ายที่สุด ความหวังที่จะเห็นครูและนักเรียนสอนและเรียนร่วมกันในห้องเรียนจะนำไปสู่ บรรยากาศการเรียนรู้ที่มีประสิทธิผลและมีค่ายิ่ง
เอกสารอ้างอิง
Authentic assessment. (2001). Retrieved April 19, 2003, from
http://www.funderstanding.com
Bansberg, B. (2003). Applying the learner-centered principles to the
special case of literacy. Theory into Practice, 42 (2), 142-147.
Bush, T., & Saye, J. (2000). Implementation and evaluation of a
student-centered learning unit: A case study. Educational
Technology, Research and Development, 48 (3), 79-91.
Fink, L. D. (2002). Active learning. Retrieved April 5, 2003, from
http://www.hcc.hawaii.edupage 70 SLLT 2003
Glassglow, N. (1997). New curriculum for new times: A guide to
student-centered, problem-based learning. Thousand Oaks, CA:
Corwin.
Kohonen, V. (1992). Experiential language learning: Second language
learning as cooperative learner education. In D. Nunan (Ed.),
Collaborative language learning and teaching (pp. 17-32).
Cambridge: Cambridge University Press.
Mehan, H. (1979). Learning lessons. Cambridge, MA: Harvard
University Press.
North Central Regional Educational Laboratory (NCREL). (2003).
Focus on student-centered learning/Support professional
development. Retrieved March 27, 2003, from
http://www.ncrel.org
Preparing tomorrow’s teachers to use technology. (2003). Retrieved
March 3, 2003 from http://www.pt3.org/technology/
tech_learning.html
Steps toward becoming a self-directed learner. (1996). The Teaching
Professor, 10 (4). Retrieved March 3, 2003  from
http://www.oaa.pdx.edu/CAE/FacultyFocus/spring96/excerpt.html
Tsang-Kosma, W. (2003). Student-centered learning + technology =
rethinking teachers’ education. Retrieved March 27, 2003, from
http://www.gsu.edu
Watanabe, Y. (1999). Second language literacy through studentcentered learning. The Internet TESL Journal, 5 (2). Retrieved
March 2, 2003  from  http://iteslj.org/Articles/CaprioStudentCentered.html
Williams, D. L. (1980). Thai ways and my ways (Report No. SO
015980). Dekalb, IL: Northern Illinois University, Center for
Southeast Asian Studies. (ERIC Document Reproduction Service
No. ED 231183)
เกี่ยวกับผู้เขียน
Asst. Prof. Chutima Thamraksa obtained her Ph.D. in English Rhetoric and Linguistics from Indiana University of Pennsylvania, U.S.A. in 1997, M.A. in English for Non-Native Speakers and a Certificate in Teaching English as a Second Language (TESL) from
Central Missouri State University, U.S.A. in 1988, and B.Ed. in English from Chulalongkorn University in 1985.
She is currently the Chairperson of the English Department, School of Humanities,
Bangkok University.
Her publications include three textbooks: Exploring through Writing: An Advanced Rhetoric; Report Writing;SLLT 2003 page 71 Critical Reading, and articles on Virtual schooling: a technological and educational revolution, and The use of ICT on language teaching

Categories
articles Featured Articles

Student Centered Learning: What does it mean for Students and Lecturers? การ เรียนรู้โดยเน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง มีความหมายอย่างไรสำหรับครูและนักเรียน

OUR FEATURE ARTICLE FOR August 2011:

Student-centred learning: What does it mean for students and lecturers?


Tim McMahon

Geraldine O’Neill and Tim McMahon
University College Dublin
E-mail: geraldine.m.oneill@ucd.ie / tim.mcmahon@ucd.ie

reprinted here with the permission of both authors

Introduction

The term student-centred learning (SCL) is widely used in the teaching and learning literature. Many terms have been linked with student-centred learning, such as flexible learning (Taylor 2000), experiential learning (Burnard 1999), self-directed learning and therefore the slightly overused term ‘student-centred learning’ can mean different things to different people. In addition, in practice it is also described by a range of terms and this has led to confusion surrounding its implementation.

The concept of student-centred learning has been credited as early as 1905 to Hayward and in 1956 to Dewey’s work (O’Sullivan 2003). Carl Rogers, the father of client-centred counseling, is associated with expanding this approach into a general theory of education (Burnard 1999; Rogoff 1999). The term student-centred learning was also associated with the work of Piaget and more recently with Malcolm Knowles (Burnard 1999). Rogers (1983a:25), in his book ‘Freedom to Learn for the 80s’, describes the shift in power from the expert teacher to the student learner, driven by a need for a change in the traditional environment where in this ‘so-called educational atmosphere, students become passive, apathetic and bored’. In the School system, the concept of child-centred education has been derived, in particular, from the work of Froebel and the idea that the teacher should not ‘interfere with this process of maturation, but act as a guide’ (Simon 1999). Simon highlighted that this was linked with the process of development or ‘readiness’, i.e. the child will learn when he/she is ready (1999).

The paradigm shift away from teaching to an emphasis on learning has encouraged power to be moved from the teacher to the student (Barr and Tagg 1995). The teacher-focused/transmission of information formats, such as lecturing, have begun to be increasingly criticised and this has paved the way for a widespread growth of ‘student-centred learning’ as an alternative approach. However, despite widespread use of the term, Lea et al. (2003) maintain that one of the issues with student-centred learning is the fact that ‘many institutions or educators claim to be putting student-centred learning into practice, but in reality they are not’ (2003:322).

This chapter aims to:

Give an overview of the various ways student-centred learning is defined,
Suggest some ways that student-centred learning can be used as the organising principle of teaching and assessment practices,
Explore the effectiveness of student-centred learning and
Present some critiques to it as an approach.
What is student-centred learning?

Kember (1997) described two broad orientations in teaching: the teacher centred/content oriented conception and the student centred/learning oriented conceptions. In a very useful breakdown of these orientations he supports many other authors views in relation to student-centred view including: that knowledge is constructed by students and that the lecturer is a facilitator of learning rather than a presenter of information. Rogers (1983b:188) identified the important precondition for student-centred learning as the need for: ‘… a leader or person who is perceived as an authority figure in the situation, is sufficiently secure within herself (himself) and in her (his) relationship to others that she (he) experiences an essential trust in the capacity of others to think for themselves, to learn for themselves’.

Choice in the area of the learning is emphasised by Burnard, as he interprets Rogers’ ideas of student-centredness as ‘students might not only choose what to study, but how and why that topic might be an interesting one to study’ (1999:244). He also emphasises Rogers’ belief that students’ perceptions of the world were important, that they were relevant and appropriate. This definition therefore emphasises the concept of students having ‘choice’ in their learning.

Harden and Crosby (2000:335) describe teacher-centred learning strategies as the focus on the teacher transmitting knowledge, from the expert to the novice. In contrast, they describe student-centred learning as focusing on the students’ learning and ‘what students do to achieve this, rather than what the teacher does’. This definition emphasises the concept of the student ‘doing’.

Other authors articulate broader, more comprehensive definitions. Lea et al. (2003:322) summarises some of the literature on student-centred learning to include the followings tenets:

‘the reliance on active rather than passive learning,
an emphasis on deep learning and understanding,
increased responsibility and accountability on the part of the student,
an increased sense of autonomy in the learner
an interdependence between teacher and learner,
mutual respect within the learner teacher relationship,
and a reflexive approach to the teaching and learning process on the part of both teacher and learner.’
Gibbs (1995) draws on similar concepts when he describes student-centred courses as those that emphasise: learner activity rather than passivity; students’ experience on the course outside the institution and prior to the course; process and competence, rather than content; where the key decisions about learning are made by the student through negotiation with the teacher. Gibbs elaborates in more detail on these key decisions to include: ‘What is to be learnt, how and when it is to be learnt, with what outcome, what criteria and standards are to be used, how the judgements are made and by whom these judgements are made’ (1995:1). In a similar vein in earlier literature, the student-teacher relationship is particularly elaborated upon by Brandes and Ginnis (1986). In their book for use in second level education (post-primary), entitled ‘A Guide to Student-Centred Learning’, they present the main principles of student-centred learning as:

The learner has full responsibility for her/his learning
Involvement and participation are necessary for learning
The relationship between learners is more equal, promoting growth, development
The teacher becomes a facilitator and resource person
The learner experiences confluence in his education (affective and cognitive domains flow together)
The learner sees himself differently as a result of the learning experience.
The theoretical standing of student-centred learning is often surprisingly absent in the literature. However, it appears to relate primarily to the constructivist view of learning in the importance it places on activity, discovery and independent learning (Carlile and Jordan 2005). Cognitive theory also highlights activity but in a different form than that supported by the constructivists (Cobb 1999). The cognitive view supports the idea that the activity of learning is computed in the head, or as often described ‘in the mind’. The constructivist view of activity is related more to performing physical activities, for example, projects, practicals. Student-centred learning has some connections with the social constructivist view, which emphasises activity and the importance of communities of practice/others in the learning process. However, the definitions of SCL do not necessarily highlight the importance of peers in learning (Cobb 1999; Bredo 1999).

In summary, it appears from the literature that some view student-centred learning as: the concept of the student’s choice in their education; others see it as the being about the student doing more than the lecturer (active versus passive learning); while others have a much broader definition which includes both of these concepts but, in addition, describes the shift in the power relationship between the student and the teacher.

How can you implement student-centred learning?

Learning is often presented in this dualism of either student-centred learning or teacher-centred learning. In the reality of practice the situation is less black and white. A more useful presentation of student-centred learning is to see these terms as either end of a continuum, using the three concepts regularly used to describe student-centred learning (See Table 1 ).

Table 1: Student-centred and teacher-centred continuum

Teacher-centred Learning Student-centred Learning
Low level of student choice High level of student choice
Student passive Student active
Power is primarily with teacher Power primarily with the student
In examining how you might look at this in practice, it is worth thinking how far up the continuum you are able to move within the contextual barriers in your teaching situation. The next sections will present some ideas for your practice to aid you in making that progression.

Implications for curriculum design

In relation to curriculum design, student-centredness includes the idea that students have choice in what to study, how to study. However, to what extent can this be carried out in the structures of today’s Universities? Modularisation, which will be expected in all European undergraduate courses by 2006, provides a structure that allows students an element of choice in what modules they study. Donnelly and Fitzmaurice (2005) in their chapter in this collection on ‘Designing Modules for Learning’ highlight the importance of attempting to focus on the needs of the students at the early stage of curriculum design. Choice in the curriculum is not without its difficulties and Edwards argues about the dangers of individuality in the concept of the social learner and how this can in a seemingly contradictory way lead to disempowerment (2001).

One student-centred approach to curriculum design, Problem-Based Learning (PBL), allows for some choice within a programme of areas that students may study. It allows students to set some of their own learning objectives/outcomes, dependent on prior knowledge. Problem-Based Learning, through the use of problems/issues/triggers, encourages the students to develop their own learning goals, thereby filling in the gaps in their knowledge or understanding (Boud and Feletti 1997). This element of choice or control is referred to in many of the definitions of student-centred learning. This aspect of responsibility aligns with the Lea et al. (2003) view that student-centred learning involves ‘increased responsibility and accountability on the part of the student’. Problem-based learning is higher up the student choice aspect of the SCL continuum in Table 1 , than the usual problem-solving or problem-oriented exercises performed in a lecture/tutorial. These approaches are more controlled by the teacher in their presentation and outcome (Davis and Harden 1999). However, they are useful in addressing the active learning aspect of student-centred learning. Other approaches to curriculum design also support the idea of student choice and activity in learning, for example, the systems-based approach, resource-based learning, and experiential/ personal relevance approach (Toohey 2000).

A growing practice in course design internationally is the writing of learning outcomes/objectives focusing on what the student will be able to do, rather than on the content being covered by the teacher (UCD Centre for Teaching and Learning 2005). This practice is an example of the move towards student-centred learning in the curriculum and helps to shift the emphasis on the learner as opposed to a coverage model by the teacher. Donnelly and Fitzmaurice (2005) re-iterate the importance of this shift in emphasis. This is also reflected in Gibbs’ (1995) definition, i.e. an emphasis on the process and competence, rather than content. Table 2 presents some examples of student-centred learning outcomes.

Table 2: Learning Outcomes and Student-centred Learning

Student-centred Learning Outcomes:
Some examples Traditional Learning
Outcomes/Objectives
By the end of this modules: you (the student)
will be able to: The course will cover:
Recognise the structures of the heart The anatomy of the heart
Critique one of Yeats’ poems A selection of Yeats poems
Implications for teaching/learning methods

The University of Glasgow (2004) identified four main strategies in a study on student-centred learning practices in their University. The first strategy was to make the student more active in acquiring knowledge and skills and might include exercises in class, fieldwork, use of CAL (computer assisted learning) packages etc. The second strategy was to make the student more aware of what they are doing and why they are doing it. A third strategy is a focus on interaction, such as the use of tutorials and other discussion groups. The final strategy is the focus on transferable skills. This last strategy is not mentioned in other definitions of the student-centred learning but does look beyond the immediate course requirements to other benefits to the student in later employment. Table 3 highlights a sample of student-centred learning/teaching methods and includes some ideas for lecturers both within (more teacher-centred) and outside of the lecture format. You may consider, however, in striving to reduce the amount of lecture contact hours for more student-centred formats, where possible.

Table 3: Examples of student centred learning/teaching methods

Outside of the lecture format In the Lecture
Independent projects Buzz groups (short discussion in twos)
Group discussion Pyramids/snowballing (Buzz groups continuing the discussion into larger groups)
Peer mentoring of other students Cross-overs (mixing students into groups by letter/number allocations)
Debates Rounds (giving turns to individual students to talk)
Field-trips Quizes
Practicals Writing reflections on learning (3/4 minutes)
Reflective diaries, learning journals Student class presentations
Computer assisted learning Role play
Choice in subjects for study/projects Poster presentations
Writing newspaper article Students producing mind maps in class
Portfolio development
Implications for assessment practices

Black (1999) summarised some of the difficulties highlighted in the literature in the area of assessment, for example, a) that the giving of marks and grades are over emphasised, while the giving of advice and the learning function are under emphasised, b) pupils are compared with one another which highlights competition rather than personal improvement. He also explains the concept of self-assessment as essential activity to help students ‘take responsibility for their own learning’, an important aspect of SCL (Benett 1999; Black 1999:126). Foucault argued that the examination was a technique of power, where a student is ’controlled through a system ’micro-penalties’, the constant giving of marks which constitutes a whole field of surveillance’ (cited in Broadfoot 1999:88). The use of the written examination is still a strong practice in today’s Universities and is primarily a summative assessment, i.e. an assessment for judgement or accreditation. The addition of more formative assessment, which emphasises feedback to students on their learning, would ‘enhance their (student) learning’ (Brown et al. 1997; Light and Cox 2001:170). By developing more formative assessment in your courses you can provide a focus for the student by highlighting their learning gaps and areas that they can develop. Examples of formative assessment include feedback on essays, written comments on assignments, grades during the year that do not add to end of year mark and multiple-choice questions/answers for feedback only. The addition of more formative assessment encourages a more student-centred approach.

Table 4 presents practical examples of student-centred assessments as presented by Gibbs (1995). Further details of some of these assessments can be seen on the UCD Centre for Teaching and Learning website ( http://www.ucd.ie/teaching).

Table 4: Examples of student-centred assessments (Gibbs 1995)

Diaries, logs and journals
Portfolios
Peer/self assessment
Learning contracts and negotiated assessment
Projects
Group work
Profiles
Skills and competencies
Peer and self-assessment both give some control and responsibility back to the student, emphasising ‘ an increased sense of autonomy in the learner’ as noted in Lea et al.’s definition of student-centred learning (2003). Learning contracts/negotiated contracts are goals set by the student, depending on their learning gaps, which are in turn negotiated with the lecturer (Knight 2002). The contract can also highlight the manner in which the student would like to be assessed in order to demonstrate that they have reached the goals. This can add choice in what to study and, in addition, choice in how the student will be assessed. Choice is one of the key terms in relation to student-centred learning. The concept of negotiation of learning also addresses the unique change in relationship between lecturer and student noted byLea et al. (2003) in their definition of student-centred learning.

Gibbs (1995:1), as mentioned earlier, describes the range of choices available to students in relation to assessment as: ‘……, what criteria and standards are to be used, how the judgements are made and by whom these judgements are made’. In practice, how do we give students some autonomy and decision-making in an area such as assessment? Brown et al. (1994) highlight a range of suggestions on how lecturers can involve students in the assessment process: (Table 5 ).

Table 5: Assessment process and student-centred learning

Involving students at the stage when
the task is set:
Choosing the assessment task
Setting the assessment task
Discussion the assessment criteria
Setting the assessment criteria
Involving students at the stage after
the task is completed:
Making self-assessment comments
Making peer-assessment feedback comments
Suggesting self-assessment grades/marks
Negotiating self-assessment grades/marks
Assigning self-assessment grades/marks
Assigning peer-assessment grades/marks
(Brown, Rust, and Gibbs 1994)

The suggestions in Table 5 above may seem a large jump from your current practices, therefore, you might consider moving your assessment practice slightly up the teacher/student-centred continuum. An example of a small but significant change is to provide a choice of essay topics and exam questions as a manageable starting point.

The effectiveness and critiques of student-centred learning

The use of student-centred learning appears to be reflective of today’s society where choice and democracy are important concepts, however is it an effective approach to learning? Lea et al. (2003) reviewed several studies on student-centred learning and found that overall it was an effective approach. A six-year study in Helsinki, which compared traditional and activating instruction, found that the activating group developed better study skills and understanding, but were slower in their study initially (Lonka and Ahola 1995). Equally, Hall and Saunders found that students had increased participation, motivation and grades in a first year information technology course (1997). In addition, 94% of the students would recommend it to others over the more conventional approach (Hall and Saunders 1997). Students in a UK University elaborated on the impact of student-centred learning on them, i.e. they felt there was more respect for the student in this approach, that it was more interesting, exciting, and it boosted their confidence (Lea et al. 2003).

Student-centred learning, despite its popularity, is not without its critics. The main critique of student-centred learning is its focus on the individual learner. In addition, there are some difficulties in its implementation, i.e. the resources needed to implement it, the belief system of the students and staff, and students’ lack of familiarity with the term.

Simon (1999) describes that student-centred learning, in the School system, can be in danger of focusing completely on the individual learner and taken to its extreme does not take into account the needs of the whole class. Simon highlights the point that ‘if each child is unique, and each requires a specific pedagogical approach appropriate to him or her and to no other, the construction of an all embracingpedagogy or general principles of teaching become an impossibility’ (Simon 1999:42). Edwards (2001:42) also highlights the dangers associated with student-centredness in adult education where in empowering an individual there is a potential danger of ‘a person’s physical isolation from other learners’. The importance of the social context of learning and the value of interaction with peers is emphasised in the socio-cultural view of learning (Bredo 1999). The concept of being an independent learner choosing his/her own route of learning, may in fact drive some of the sociability out of the learning process if care is not taken to emphasise the importance of peers. In relation to this individuality, Lea et al.’s study on psychology students highlighted their concern over being abandoned or isolated from other supports in a student-centred learning approach (2003).

O’Sullivan (2003) described student-centred learning as a Western approach to learning and may not necessarily transfer to the developing countries, such as Namibia, where there are limited resourcesand different learning cultures. It can be equally hard at times to see how the approach can be economical in the large classes associated with many current University undergraduate courses. A comprehensive study was conducted in 2004, by the University of Glasgow, on the use of student-centred learning with full-time undergraduate students (2004). In this study they found that student-centred learning (SCL) was more prevalent in the later years of the student degrees, and this they believe is often down to class sizes.

Another concern regarding student centred learning is the belief that students hold in relation to their learning. Students who value or have experienced more teacher-focused approaches, may reject the student-centred approach as frightening or indeed not within their remit. Prosser and Trigwell’s work in higher education emphasises the different belief systems held by staff and students (2002). They found that lecturers with a teacher-centred approach to teaching held views that students should accommodate information rather than developing and changing their conceptions and understanding. The reverse was true for those with more student-centred approaches to their teaching. Perry’s work on the development of University students highlights how students move from a dualistic view that knowledge is right or wrong to a relativist view that all answers are equally valid (Perry 1970). This study highlights that even during the University years, students can change their view on learning and as they move through the years so to may their views on student-centred learning change. In support of Perry’s work, Stevenson and Sander (2002) highlighted that 1st year medical students were suspicious of the value of student-centred learning methods.

Finally, students’ familiarity with the term can be poor. Lea et al. (2003) conducted a study on 48 psychology students in the University of Plymouth on students’ attitudes to student-centred learning. They found that, despite a University student-centred policy, 60% of the students had not heard of the term.

Summary

The changing demographics of the student population and the more consumer/client-centred culture in today’s society have provided a climate where the use of student-centred learning is thriving. The interpretation of the term ‘student-centred learning’ appears to vary between authors as some equate it with ‘active learning’, while others take a more comprehensive definition including: active learning, choice in learning, and the shift of power in the teacher-student relationship. It is used very commonly in the literature and in University policy statements, but this has not necessarily transferred into practice.

Student-centred learning is not without some criticism but in general it has been seen to be a positive experience, for example, Edwards (2001) emphasises the value of student-centred learning: ‘Placing learners at the heart of the learning process and meeting their needs, is taken to a progressive step in which learner-centred approaches mean that persons are able to learn what is relevant for them in ways that are appropriate. Waste in human and educational resources is reduced as it suggested learners no longer have to learn what they already know or can do, nor what they are uninterested in’. (Edwards 2001:37).

Although recognizing that it is not necessarily an easy task, it is hoped that this chapter has gone some way to providing evidence and ideas to move you higher up the continuum towards a more student-centred practice.

References

Barr, R. B. and J. Tagg (1995, Nov/Dec). From teaching to learning – A new paradigm for undergraduate education. Change, 13-25.

Benett, Y. (1999). The validity and reliability of assessments and self-assessments of Work Based Learning. In P. Murphy (Ed.), Learners, Learning and Assessment. London: Open University Press.

Black, P. (1999). Assessment, learning theories and testing systems. In P. Murphy (Ed.), Learners, Learning and Assessment. London: Open University Press.

Boud, D. and G. Feletti (1997). The Challenge of Problem Based Learning. London: Kogan Page.

Brandes, D. and P. Ginnis (1986). A Guide to Student Centred Learning. Oxford: Blackwell.

Bredo, E. (1999). Reconstructing educational psychology. In P. Murphy (Ed.), Learners, Learning and Assessment. London: Open University Press.

Broadfoot, P. (1999). Assessment and the emergence of modern society. In B. Moon and P. Murphy (Eds.), Curriculum in Context. London: Sage Publications.

Brown, G., J. Bull, and M. Pendlebury (1997). What is assessment? In Assessing Student Learning in Higher Education. London: Routledge.

Brown, S., C. Rust, and G. Gibbs (1994). Involving students in assessment. In Strategies for Diversifying Assessment in Higher Education. Oxford: The Oxford Centre for Staff Development.

Burnard, P. (1999). Carl Rogers and postmodernism: Challenged in nursing and health sciences. Nursing and Health Sciences 1, 241-247.

Carlile, O. and A. Jordan (2005). It works in practice but will it work in theory? The theoretical underpinnings of pedagogy. In S. Moore, G. O’Neill, and B. McMullin (Eds.), Emerging Issues in the Practice of University Learning and Teaching. Dublin: AISHE.

Cobb, P. (1999). Where is the Mind? In P. Murphy (Ed.), Learners, Learning and Assessment. London: Open University Press.

Davis, M. H. and R. M. Harden (1999). AMEE Medical Education Guide No. 15: Problem-based learning: A practical guide. Medical Teacher 21(2), 130-140.

Donnelly, R. and M. Fitzmaurice (2005). Designing Modules for Learning. In S. Moore, G. O’Neill, and B. McMullin (Eds.), Emerging Issues in the Practice of University Learning and Teaching. Dublin: AISHE.

Edwards, R. (2001). Meeting individual learner needs: power, subject, subjection. In C. Paechter, M. Preedy, D. Scott, and J. Soler (Eds.), Knowledge, Power and Learning. London: SAGE.

Gibbs, G. (1995). Assessing Student Centred Courses. Oxford: Oxford Centre for Staff Learning and Development.

Hall, J. and P. Saunders (1997). Adopting a student-centred approach to management of learning. In C. Bell, M. Bowden, and A. Trott (Eds.), Implementing Flexible Learning. London: Kogan Page.

Harden, R. M. and J. Crosby (2000). AMEE Guide No 20: The good teacher is more than a lecturer-the twelve roles of the teacher. Medical Teacher 22(4), 334-347.

Kember, D. (1997). A reconceptualisation of the research into university academics conceptions of teaching. Learning and Instruction 7(3), 255-275.

Knight, P. (2002). Learning Contracts. In Assessment for Learning in Higher Education. Birmingham: SEDA series.

Lea, S. J., D. Stephenson, and J. Troy (2003). Higher Education Students’ Attitudes to Student Centred Learning: Beyond ‘educational bulimia’. Studies in Higher Education 28(3), 321-334.

Light, G. and R. Cox (2001). Assessing: student assessment. In Learning and Teaching in Higher Education: The Reflective Practitioner. London: Paul Chapman Publishing.

Lonka, K. and K. Ahola (1995). Activating instruction: How to foster study and thinking skills in Higher Education. European Journal of Psychology of Education 10, 351-368.

O’Sullivan, M. (2003). The reconceptualisation of learner-centred approaches: A Nambian case study. International Journal of Educational Development. In Press.

Perry, W. G. (1970). Forms of Intellectual and Ethical Development in the College Years. New York: Holt, Rinehart and Winston.

Prosser, K. and M. Trigwell (2002). Experiences of teaching in Higher Education. In Understanding Learning and Teaching: The Experience of Higher Education. Buckingham: SRHE and Open University Press.

Rogers, C. R. (1983a). As a teacher, can I be myself? In Freedom to Learn for the 80’s. Ohio: Charles E. Merrill Publishing Company.

Rogers, C. R. (1983b). The politics of education. In Freedom to Learn for the 80’s. Ohio: Charles E. Merrill Publishing Company.

Rogoff, B. (1999). Cognitive development through social interaction: Vgotsky and Piaget. In P. Murphy (Ed.), Learners, Learning and Assessment. London: Open University Press.

Simon, B. (1999). Why no pedagogy in England? In J. Leach and B. Moon (Eds.), Learners and Pedagogy. London: Sage Publications.

Stevenson, K. and P. Sander (2002). Medical students are from Mars-business and psychology students are from Venus-University teachers are from Pluto? Medical Teacher 24(1), 27-31.

Taylor, P. G. (2000). Changing Expectations: Preparing students for Flexible Learning. The International Journal of Academic Development 5(2), 107-115.

Toohey, S. (2000). Designing Courses for Higher Education. Buckingham: SRHE and Open University Press.

UCD Centre for Teaching and Learning (2005). Course Design. http://www.ucd.ie/teaching/good/cou3.htm

Geraldine O’Neill and Tim McMahon
University College Dublin
E-mail: geraldine.m.oneill@ucd.ie / tim.mcmahon@ucd.ie

 

คำว่า การเรียนรู้โดยเน้นผู้เรียนรู้เป็นศูนย์กลาง (Student-centered learning) เป็นคำที่ใช้บ่อยในเอกสารเกี่ยวกับการเรียนการสอน มีคำอื่นๆ ที่นำมาใช้ประกอบคำนี้ เช่น การเรียนรู้แบบยื่ดหยุ่น การเรียนรู้แบบประสบการณ์ และการเรียนรู้ที่ผู้เรียนกำหนดขึ้นเอง ดังนั้นคำว่า student-centered learning อาจมีความหมายต่างๆ นานาสำหรับแต่ละคน นอกจากนั้น ในเชิงปฏิบัติ การเรียนวิธีนี้ก็ถูกอธิบายโดยศัพท์หลายคำ ซึ่งทำให้เกิดความสับสนในการนำไปใช้
ความคิดเกี่ยวกับ student-centered learning มีมานานแล้วตั้งแต่ปี ค.ศ. 1905 ซึ่ง Carl Rogers บิดาแห่ง client-centered counseling ก็นับว่าเป็นผู้ที่นำวิธีนี้เข้าสู่วงการศึกษาโดยทั่วไป คำว่า student-centered learning ก็เกี่ยวข้องกับงานของ Piaget และ Malcolm Knowles ด้วย ในหนังสือ Freedom to Learn for the ’80s. Roger ได้พูดถึงการโอนอำนาจในห้องเรียนจากครูผู้รู้ไปสู่นักเรียนผู้เรียน ซึ่งเกิดจากความต้องการให้มีการเปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อมดั้งเดิมที่ทำให้นัก เรียนเฉื่อย ไม่สนใจ และเบื่อหน่าย คอนเซพท์ของ child-centered education ในโรงเรียนได้เกิดจากงานของ Froebel เสียส่วนมาก และความคิดที่ว่าครู ‘ไม่ควรไปแซกแซงกระบวนการเติบโตของเด็ก เป็นเพียงแต่ผู้ชี้นำเท่านั้น’ Simonได้เน้นว่าความคิดนี้เกี่ยวข้องกับกระบวนการพัฒนาของเด็กที่จะเรียนรู้ เมื่อพร้อมที่จะเรียนเท่านั้น
การเปลี่ยนจากการเน้นการสอนไปสู่การเน้นการเรียนได้อำนวยให้อำนาจย้าย จากครูไปอยู่ที่นักเรียน การสอนแบบครูเป็นศูนย์/การถ่ายทอดข้อมูล เช่นการปาฐกถา ได้เริ่มถูกวิจารณ์ซึ่งเป็นการปูทางให้เกิดการเรียนรู้แบบ student-centered learning เป็นทางเลือกอีกทางหนึ่ง อย่างไรก็ตาม ไม่ว่าได้มีการใช้คำว่า student-centered learning บ่อยๆ แต่ความจริงคือ สถานการศึกษาและครูหลายคนอ้างว่าใช้ student-centered learning แต่ที่จริงแล้วไม่ได้ใช้อย่างถูกต้อง
บทนี้มีวัตถุประสงค์ที่จะ
ให้ภาพรวมว่า student-centered learning ถูกนิยามอย่างไร
ให้คำแนะนำว่า student-centered learning นำไปใช้ให้เป็นหลักการสอนและการประเมินได้อย่างไร
สำรวจประสิทธิภาพของ student-centered learning และ
เสนอข้อดีข้อเสียของมัน
Student-centered learning คืออะไร?
Kember ได้อธิบายถึงการสอนอย่างกว้างๆ 2 วิธี: คือการสอนแบบ ครู/เนื้อหาเป็นศูนย์กลาง และ ผู้เรียนรู้/การเรียนรู้เป็นศูนย์กลาง เขาได้สนับสนุนความคิดเห็นเกี่ยวกับผู้เรียนรู้เป็นศูนย์กลางว่า: ความรู้ถูกสร้างโดยนักเรียนและครูเป็นเพียงผู้อำนวยการการเรียนรู้ ไม่ใช้เป็นผู้เสนอข้อมูล Roger ได้กำหนดว่าก่อนจะมีการเรียนรู้แบบ student- centered ได้ ต้องมีผู้นำหรือผู้ใดที่ครูทั้งหลายยอมรับเป็นผู้มีอำนาจในเหตุการณ์นี้ มีความมั่นใจในตัวเองพอสมควร และในความสัมพันธ์ที่เขามีกับผู้อื่น จนเขาไว้ใจความสามารถของผู้อื่นที่จะคิดเองและเรียนรู้เองได้
Burnard ได้เน้นการเลือกเรียน ซึ่งเขาตีความหมายของ Roger เกี่ยวกับ student-centeredness ว่า ‘นักเรียน ไม่ใช่แต่เลือกว่าจะเรียนอะไร แต่สามารถเลือกวิธีเรียนและเหตุผลที่เรียนหัวข้อนั้นๆ’ เขาเน้นความเชื่อ ของ Roger ว่า ความเข้าใจโลกเป็นเรื่องสำคัญ ตรงประเด็นและเหมาะสม คำนิยามนี้จึงเน้นความคิดที่ให้นักเรียนมี ‘ทางเลือก’ ในการเรียนรู้
Harden และ Crosby อธิบายวิธีเรียนรู้แบบ teacher-centered เป็นการ เน้นครูถ่ายทอดข้อมูลจากผู้เชี่ยวชาญไปสู่ลูกศิษย์ ตรงกันข้ามเขาอธิบายการเรียนรู้แบบ student-centeredเป็นการเน้นการเรียนรู้ ของนักเรียนและนักเรียนจะทำอย่างไรจึงจะบรรลุสิ่งนี้ให้ได้ แทนที่จะเน้นว่าครูทำอะไร ดังนั้นคำนิยามนี้จึงเน้นการกระทำของนักเรียน
ผู้เขียนอื่นมีคำนิยามที่กว้างกว่านี้ Lea ได้สรุปบทความต่างๆ เกี่ยวกับ student-centered learning ว่าควรมีสิ่งเหล่านี้
การเรียนรู้แบบ active ไม่ใช่ passive
การเน้นการเรียนรู้แบบลึกและการเข้าใจ
นักเรียนมีความรับผิดชอบสูง
นักเรียยมีความรู้สึกเป็นอิสระสูงขึ้น
นักเรียนและครูมีความพึงพาอาศัยกัน
มีความรู้สึกเคารพซึ่งกันและกันระหว่างครูและนักเรียน
ทั้งครูและนักเรียนมีการเรียนการสอนอย่างไตร่ตรอง
Gibbs อธิบายหลักสูตร student-centered ว่าเป็นหลักสูตรที่ เน้น activity มากกว่า passivity ของนักเรียน ประสบการณ์ของนักเรียนที่ได้รับก่อนเข้าสถาบันและก่อนที่เขาเรียนหลักสูตร กระบวนการและประสิทธิภาพมากกว่าเนื้อหา นักเรียนทำการตัดสินที่สำคัญเกี่ยวกับการเรียนรู้โดยมีการเจรจากับครูเสีย ก่อน นอกจากนี้ Gibbs ลงไปรายละเอียดที่สำคัญดังนี้ จะเรียนอะไร เรียนวิธีใดและเมื่อไหร่ มีผลสำฤทธิ์อย่างไร ใช้กฎเกณฑ์และมาตรฐานอะไร และจะมีการตัดสิน/ประเมินอย่างไรและใครจะเป็นผู้ ตัดสิน Brandes และGinnis ในหนังสือ A Guide to Student-Centered Learning หลักสำคัญของ student-centered learning ว่ามีดังนี้
นักเรียนรับผิดชอบเต็มสำหรับการเรียนรู้ของตนเอง
การเกี่ยวข้องและร่วมมือจำเป็นสำหรับการเรียนรู้
ความสัมพันธ์ระหว่างนักเรียนเสมอภาคมากขึ้น ซึ่งส่งเสริมความเจริญเติบโตและการพัฒนา
ครูจะกลายเป็นผู้อำนวยการเรียนรู้และเป็นทรัพยากรบุคคลทางการเรียนรู้
นักเรียนจะรู้สึกว่าการเรียนรู้จะไหลไปด้วยกัน (affective and cognitive domains flow together)
นักเรียนจะมองตัวเองแตกต่างออกจากเดิมเพราะการเรียนรู้แบบ student- centered
ประสิทธิภาพของการเรียนรู้แบบ student-centered ไม่ค่อยมีใครกล่าวถึง ในบทความต่างๆ แต่ในทัศนะคติของพวก constructivist มันดูเหมือนเกี่ยวกับความสำคัญที่ให้ ต่อการกระทำ การค้นพบ และการเรียนรู้อย่างอิสระ ทฤษฎีการเรียนรู้ (cognitive theory) ก็เน้นการกระทำแต่ในอีกรูปแบบหนึ่งที่ไม่เหมือน พวก constructivist พวก cognitive สนับสนุนความคิดที่ว่าการกระทำในการเรียน รู้เกิดขึ้นในสมอง หรือใน ‘ความคิด’ และทัศนะคติของพวก constructivist ถือว่าการกระทำเกี่ยว ข้องกับการกระทำทางกายภาพ เช่น การทำโครงการ หรือแบบฝึกหัดเชิงปฏิบัติ การเรียนรู้แบบ student-centered มีความสัมพันธ์กับทัศนะคติของ พวก constructivist บ้าง ซึ่งเน้นการกระทำและความสำคัญของผู้อื่นในกระบวนการการเรียนรู้ อย่างไรก็ตาม คำนิยามต่างๆ ของ student-centered learning ไม่ค่อยเน้นความสำคัญของผู้เรียนรู้ร่วม
สรุปจากบทความต่างๆ คือ student-centered learning: คอนเซพท์ที่นักเรียนมีทางเลือกในการเรียนรู้ของตน บางคนเห็นว่านักเรียนกระทำมากกว่าผู้สอน (active versus passive learning) ในขณะที่คนอื่นให้คำนิยามกว้างๆ และรวมทั้งสองคอนเซพท์นี้เข้าด้วย และยังเห็นว่ามีการเปลี่ยนแปลงเรื่องอำนาจระหว่างนักเรียนกับครู
จะนำ student-centered learning มาใช้ได้อย่างไร
การเรียนรู้มักเสนอว่าเป็นการเลือกระหว่าง student- centered หรือ teacher-centered ในทางปฏิบัติไม่ได้เป็นขาวดำถึงขนาดนั้น การเสนอการเรียนรู้แบบ student-centered ทั้งสองวิธีเป็นสองจุดที่เป็นภาวะ ต่อเนื่องโดยใช้ศัพท์พวกนี้อธิบาย
ตารางที่ 1 ช่วงระหว่าง Student-centered และ Teacher-centered
Teacher-centered Learning                             Student-centered Learning
ทางเลือกของนักเรียนมีน้อย                             ทางเลือกของ นักเรียนมีมาก
นักเรียนถูกกระทำ (passive)                             นักเรียนเป็นผู้กระทำ (active)
อำนาจส่วนมากอยู่กับครู                                    อำนาจส่วน มากอยู่กับนักเรียน
คุณควรพิจารณาว่าในบริบทแห่งการเรียนการสอนของคุณ คุณสามารถไปได้แค่ไหนระหว่างสองจุดที่เป็นภาวะต่อเนื่อง ต่อไปนี้เป็นการเสนอความคิดเห็นที่จะช่วยให้คุณก้าวไปสู่ student-centered learning ให้มากขึ้น
ความสำคัญต่อการออกแบบหลักสูตร
ในการออกแบบหลักสูตร student centeredness รวมถึงความคิดที่ว่า นักเรียนมีทางเลือกว่าจะเรียนรู้อะไร และจะเรียนรู้อย่างไร แต่ในมหาวิทยาลัยทุกวันนี้เราจะปฏิบัติได้แค่ไหน? การจัดหลักสูตรเป็นมอดู ลจะทำสำเร็จในมหาวิทยาลัยยุโรปภายในปี 2006 ซึ่งเป็นการให้โอกาศให้นักศึกษา เลือกมอดูลได้ แต่การให้เลือกหลักสูตรของตนเองก็เต็มไปด้วยความลำบาก ซึ่งอาจมีผลลบก็ได้
Problem-Based Learning (PBL) เป็นการออกแบบหลักสูตรวิธีหนึ่งตามแนวความคิด student-centered learning ซึ่งเปิดทางให้มีการเลือกว่านักเรียนจะเรียนอะไรบ้าง และยังให้โอกาสให้นักเรียนตั้งเป้า/ผลสำฤทธิเอง ขึ้นกับว่าภูมิเดิมมีแค่ไหน Problem-Based Learning โดยการใช้ปัญหา/ประเด็น/ลั่นไก เป็นการส่งเสริมให้นักเรียนพัฒนาเป้าหมายการเรียนรู้เอง ซึ่งจะได้อุดช่องโหว่ความรู้หรือความเข้าใจ ซึ่งการมีการเลือกเป็นสิ่งที่ student-centered learning เรียกร้องอยู่แล้ว และประเด็นที่ว่าต้องรับผิดชอบสูงก็ตรงกับความคิดLea ในตาราง ที่ 1 Problem-Based Learning อยู่สูงพอสมควรในภาวะต่อเนื่องของ student-centered learning มากกว่าการให้ทำแบบฝึกหัดแก้ปัญหาต่างๆ ยังมีการออกแบบหลักสูตรอย่างอื่นที่สนับสนุนให้นักเรียนมีการเลือกในการ เรียนและให้ทำกิจกรรมในการเรียนรู้ เช่น systems-based approach, resource-based learning และexperiential/personal relevance approach
การเขียนหลักสูตรที่เป็นการยอมรับมากขึ้นในวงการศึกษาสากลคือ การเขียนผลสำฤทธิ/วัตถุประสงค์โดยเน้นว่านักเรียนจะทำอะไรได้ มากกว่าที่จะให้สอนให้ครบหลักสูตร การกระทำนี้เป็นการบ่ายเบนไปทาง student-centered learning ในหลักสูตรและช่วยหันความเน้นหนักไปสู่นักเรียนมากกว่าไปที่ ครู Donnelly และ Fitzmaurice ได้เน้นความสำคัญเรื่องนี้ และ Gibbs ก็แสดงความสำคัญโดยรวมอยู่ในคำนิยามด้วย นั่นคือ เน้นกระบวนการและประสิทธิภาพมากกว่าเนื้อหา ตารางที่ 2 เสนอผลสำฤทธิ์ student-centered learning บางประการ
ตารางที่ 2: ผลสำฤทธิ์ในการเรียนรู้และ Student-centered Learning
Student-centered Learning Outcomes                          Traditional Learning
จบมอดูลนี้คุณ (นักเรียน) สามารถทำ:                           หลักสูตรนี้จะครอบคลุม:
เข้าใจโครงสร้าง หัวใจ                                                        วิชาว่าด้วย โครงสร้างหัวใจ
วิจารณ์กลอน ของ Yeats                                                     ท่องกลอน ของ Yeats
ผลที่มีต่อวิธีการสอน/การเรียน
มหาวิทยาลัยกลาสโก (2004) ได้กำหนดว่ามีสี่วิธีหลักๆ ในการปฏิบัติ student-centered learning ในมหาวิทยาลัยของตน วิธีที่ 1 คือทำให้นักศึกษา active มากขึ้นในการแสวงหาความรู้และทักษะซึ่ง รวมถึงแบบฝึกหัดในห้องเรียน งานภาคสนาม การใช้ซอฟท์แวร์ CAL (computer assisted learning) ฯลฯ วิธีที่ 2 คือ การทำให้นักศึกษาตระหนักมากขึ้นว่ากำลังทำอะไรและทำไปทำไม วิธีที่ 3 คือการมีปฏิกิริยาโต้ตอบกัน เช่น การติวและการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นในกลุ่มเล็กๆ วิธีสุดท้ายคือ การโฟกัสไปที่ทักษะที่ถ่ายทอดกันได้ วิธีสุดท้ายนี้ไม่ได้ถูกนิยามในคำว่า student-centered learning แต่มองเลยความต้องการของหลักสูตรไปที่ประโยชน์อื่นๆ ที่อาจได้เมื่อเขาเริ่มทำงานรับจ้างแล้ว ตารางที่ 3 แสดงตัวอย่าง student-centered learning/teaching methods และรวมถึงข้อคิดสำหรับอาจารย์ทั้งภายใน (more teacher-centered) และภายนอกวิธีการปาฐกถา
ตารางที่ 3 ตัวอย่าง student centered learning/teaching methods
ภายนอกวิธีใช้ ปาฐกถา                                                       ภายในวิธี ใช้ปาฐกถา
โครงการ อิสระ                                                                     การ แลกเปลี่ยนความคิดเห็นสั้นๆ สองต่อสอง
การแลกเปลี่ยนความคิดเห้นเป็นกลุ่ม                             การ แลกเปลี่ยนความคิดเห็นสั้นๆ สองต่อสองค่อยๆ ขยายเป็นกลุ่มใหญ่ๆ
นักศึกษาให้คำปรึกษากัน เอง                                            การผสมผสานนักศึกษาโดยการ กำหนดตัวอักษรหรือตัวเลข
การโต้ วาที                                                                             การ ให้นักศึกษาพูดทีละคน
การศึกษานอกสถาน ที่                                                        การทดสอบ
การเขี่ยนไดอารี่ สมุดบันทึก                                             นักศึกษาแสดงผลงาน ในห้องเรียน
Computer assisted learning                                             แสดงบทบาท
มีการเลือกวิชา /โครงการ                                                   แสดงโปสเตอร์
เขียนบทความหนังสือ พิมพ์                                              นักศึกษาวาด mind maps ในห้องเรียน
การสร้างแฟ้มภาพผลงาน
ผลที่มีต่อการประเมินผล
Black ได้ชี้ให้เห็นความลำบากในการประเมินผล เช่น a) เน้นการให้คะแนนและเกรดมากเกินไป ในขณะที่การให้คำแนะนำและการเรียนรู้เน้นน้อยเกินไป b) มีการเปรียบเทียบนัก เรียนระหว่างกันมากเกินไป ซึ่งเป็นการเน้นการแข่งขันแทนที่จะเน้นการปรับปรุงส่วนตัว เขาอธิบายว่าคอนเซพท์การประเมินตัวเองเป็นกิจกรรมจำเป็นที่จะช่วยให้นัก เรียนรับผิดชอบการเรียนรู้ของตนเอง ซึ่งเป็นส่วนสำคัญของ student centered-learning. Foucault ได้อธิบายไว้ว่าระบบการสอบไล่เป็นเทคนิคคุมอำนาจ ซึ่งนักเรียนจะถูกควบคุมโดยระบบ micro-penalties (ลงโทษที่ละเล็กน้อย) การให้คะแนนตลอดเวลาเป็นการตรวจตราอย่างหนึ่ง การสอบไล่โดยการทำข้อเขียนยังปฏิบัติกันอยู่อย่างแพร่หลายในมหาวิทยาลัยและ เป็นการประเมินโดยสรุป นั่นคือ การประเมินเพื่อพิพากษาหรือเพื่อพิสูจน์ว่าผ่านงานหรือไม่ การประเมินแบบ formative ที่ให้ผลป้อนกลับแก่นักศึกษาเกี่ยวกับการเรียนรู้ ของเขาจะช่วยให้เขาเรียนได้ดีขึ้น ถ้าคุณสามารถพัฒนาการประเมินแบบ formative ในหลักสูตรของคุณ จะช่วยโฟกัสให้นักศึกษารู้ว่าจุดอ่อนเขาอยู่ที่ไหน ตัวอย่างการประเมินแบบ formative คือ การให้ฟีดแบ็คเมื่อตรวจข้อเขียนบทความ คะแนนที่ให้ระหว่างปีที่ไม่ไปรวมกับคะแนนสิ้นปี และคำถามปรนัยเพื่อใช้เป็นฟีดแบ็คเท่านั้น การเพิ่มการประเมินแบบ formative จะส่งเสริมการเรียนรู้แบบ student- centered มากขึ้นเท่านั้น
ตารางที่ 4 เสนอตัวอย่างการประเมินแบบ student-centered โดย Gibbs ดู รายละเอียดเพิ่มเติมที่ http://www.ucd.ie/teaching
ตารางที่ 4 ตัวอย่างการประเมินแบบ student-centered (Gibbs)
ไดอารี่ ล็อค และสมุดบันทึก
แฟ้มภาพผลงาน
การประเมินโดยเพื่อน/ตนเอง
ข้อตกลงการเรียนรู้และประเมินแบบเจรจา
งานโครงการ
งานกลุ่ม
โพรไฟล์
ทักษะและความสามารถ
การประเมินโดยเพื่อนร่วมห้องหรือตนเองเป็นการคืนการควบคุมให้แก่นัก เรียน ซึ่งเป็นการเน้นการเพิ่มความอิสระให้แก่ผู้เรียน ข้อตกลงการเรียนรู้และประเมินแบบเจรจาเป็นเป้าหมายที่นักเรียนกำหนดขึ้นเอง ขึ้นอยู่กับว่ามีช่องโหว่ความรู้ตรงไหน ซึ่งก็ต้องทำการเจรจากับครู ข้อตกลงอาจคลุมถึงวิธีที่นักเรียนอยากถูกประเมินเพื่อพิสูจน์ว่าได้บรรลุ เป้าหมายแล้ว ซึ่งก็เป็นการเพิ่มทางเลือกว่าจะเรียนเกี่ยวกับอะไร และเป็นทางเลือกว่าจะถูกประเมินอย่างไร ทางเลือกเป็นศัพท์สำคัญคำหนึ่งที่เกี่ยวกับ student-centered learningคอนเซพท์การเจรจาว่าจะเรียนอะไรก็ตรงประเด็นที่ว่าได้มีการเปลี่ยน แปลงในความสำพันธ์ระหว่างครูและนักศึกษา
Gibbs ได้อธิบายว่าทางเลือกของนักเรียนในการถูกประเมินคือ จะใช้เกณฑ์และมาตรฐานใด จะมีการตัดสินอย่างไรและใครเป็นผู้ตัดสิน ในเชิงปฏิบัติ เราจะให้นักเรียนมีอิสระและส่วนร่วมในการตัดสินใจในเรื่องประเมินผลได้อย่าง ไร? Brown มีข้อเสนอที่จะให้นักเรียนมีส่วนร่วมในกระบวนการประเมินผลดังนี้:
ตารางที่ 5 กระบวนการประเมินผลและ student-centered learning
ให้นักเรียนมีส่วนร่วมเมื่อมอบหมายงานให้ทำ:
* การเลือกงานที่จะถูกประเมิน
* การมอบหมายงานที่จะประเมิน
* การแลกเปลี่ยนความคิดเห็นเกี่ยวกับเกณฑ์ที่ใช้ในการประเมิน
* การกำหนดเกณฑ์ที่ใช้ในการประเมิน
ให้นักเรียนมีส่วนร่วมเมื่องานที่มอบหมายเสร็จแล้ว
* ให้คำติชมงานตนเอง
* ให้คำติชมงานของเพื่อนร่วมห้อง
* เสนอเกรด/คะแนนให้ตนเอง
* เจรจาเกรด/คะแนนให้ตนเอง
* ให้เกรด/คะแนนตนเอง
* ให้เกรด/คะแนนเพื่อนร่วมห้อง
ข้อเสนอในตารางที่ 5 อาจดูเหมือนใหญ่หลวงเกินไปเมื่อเทียบกับปัจจุบัน คุณอาจขยับขึ้นบนเส้นภาวะต่อเนื่องของ student-centered learning ได้ ตัวอย่างการเปลี่ยนแปลงเล็กน้อยแต่มีความหมายคือ ให้มีการเลือกหัวข้อบทความที่ต้องส่งและคำถามสอบไล่ได้
ประสิทธิภาพและข้อติของ student-centered learning
การสอนแบบ student-centered learning สะท้อนถึงสังคมปัจจุบันที่มีการเลือกและประชาธิปตัยเป็นคอนเซพท์ สำคัญ แต่มันเป็นวิธีสอนที่มีประสิทธิภาพหรือไม่? Lea ได้รวบรวมการวิชัยเรื่องนี้ แล้วพบว่าเป็นวิธีที่มีประสิทธิภาพ มีการศึกษาระยะ 6 ปีในประเทศฟินแลนด์พบว่า เทียบกับวิธีดั้งเดิม วิธีใหม่นี้ทำให้นักเรียนพัฒนาวิธีเรียนรู้และเข้าใจได้ดีกว่า แต่เริ่มเรียนช้ากว่า Halls และ Saunders พบว่านักเรียนร่วมกิจกรรม ตั้งใจเรียน และได้คะแนนมากกว่าในหลักสูตร IT ปีแรก นอกจากนั้น 94% ของนักเรียนจะแนะนำ วิธีนี้ให้แก่คนอื่นมากกว่าวิธีสอนแบบเดิม นักศึกษาในมหาวิทยาลัยอังกฤษกล่าวว่าการเรียนแบบ student-centered เป็นการ ให้เกียรตินักศึกษา มากกว่าแลน่าสนใจ ตื่นเต้นกว่า และทำให้มั่นใจมากขึ้น
แต่ Student-centered learning ก็มีคนวิจารณ์เหมือนกัน ซึ่งประเด็นที่ติมากที่สุดคือ การที่โฟกัสไปที่ผู้เรียนแต่ละคนมากไป นอกจากนี้ ยังมีความลำบากในการปฏิบัติอีกด้วย นั่นคือ ทรัพยากรที่ต้องใช้ ระบบความเชื่อถื่อของครูและนักเรียน และการที่นักศึกษาไม่คุ้นเคยกับศัพท์คำนี้
Simon อธิบายว่าในระบบโรงเรียน student-centered learning อาจไปโฟกัสเด็กแต่ละคนมากเกินไปและไม่สนองความต้องการของทั้งห้อง เรียน Simon ชี้ให้เห็นว่า ถ้าเด็กทุกคนไม่เหมือนใครและแต่ละคนต้องการเรียนรู้แบบ เฉพาะตัว การสร้างวิธีสอนที่ใช้ได้โดยทัวไปก็จะทำไม่ได้ Edwards เน้นถึงอันตรายที่ เกิดจาก student-centered learning สำหรับผู้ใหญ่ ซึ่งการให้อำนาจแก่นักเรียนพวกนี้อาจทำให้เขาทำตัวห่างเหิญออกจากเพื่อนร่วม ห้อง ในทัศนะคติของการเรียนรู้แบบ socio-cultural จะเน้นความสำคัญของบริบทสังคม ของการเรียนรู้และคุณค่าของ การแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกับเพื่อน คอนเซพท์ของ การเป็นผู้เรียนรู้แบบอิสระที่สามารถเลือกเส้นทางการเรียนรู้เองได้นั้น อาจทำให้การsociability หายไปจากกระบวนการเรียนรู้ถ้าไม่เน้นความสำคัญของ เพื่อนๆ
O’Sullivan ได้อธิบายว่า student-centered learning เป็นวิธีการเรียนรู้ของตะวันตก ซึ่งบางทีอาจไม่สามารถถ่ายทอดให้ประเทศด้อยพัฒนาได้ เช่น นามิเบีย ซึ่งมีทรัยากรจำกัดและวัฒนะธรรมการเรียนรู้ไม่เหมือนกัน แล้วก็ยากที่จะเห็นว่า student-centered learning จะคุ้มทุนได้อย่างไรในห้องเรียนใหญ่ๆ ในมหาวิทยาลัยปัจจุบัน ได้มีการศึกษาเรื่องนี้ที่มหาวิทยาลัยกลาสโกว์ในปี 2004 และได้พบ ว่า student-centered learning จะมีมากกว่าในปีท้ายๆ อาจเป็นเพราะว่าห้องเล็กลง
ปัญหาอีกอย่างหนึ่งก็คือ ความเชื่อถือที่นักเรียนมีต่อการเรียนรู้ นักเรียนที่เคยประสบแต่ teacher-centered learning อาจปฏิเสธ student-centered learning ว่าเป็นวิธีที่น่ากลัว หรือไม่อนู่ในวิสัยทัศน์ของเขา Prosser และ Trigwell จะเน้นความแตกต่างใน ความเชื่อถือระหว่างนักเรียนกับอาจารย์ เขาพบว่าอาจารย์ที่เคยชินกับ teacher-centered learning มีความคิดว่านักเรียนควรยอมรับข้อมูลที่ถูกป้อนแทนที่จะพัฒนาและ เปลี่ยนคอนเซพท์และความเข้าใจ และตรงกันข้ามสำหรับครูที่ชินกับ student-centered learning งานของ Perryเกี่ยวกับการพัฒนาของนักศึกษามหาวิทยาลัยเน้นให้เห็น ว่าเขามักจะเปลี่ยนความคิดว่าความรู้มีแต่ผิดกับถูกไปสู่ความคิดว่าทุกคำตอบ ก็ถูกได้หมด งาน Perry นี้แสดงให้เห็นว่าแม้นักศึกษาระดับอุดมศึกษาก็สามารถเปลี่ยนความ คิดเห็นเกี่ยวกับการ เรียนรู้ได้ ดังนั้นความคิดที่มีต่อ student-centered learning ก็อาจเปลี่ยนได้เช่นเดียวกัน Stevenson และ Sanderได้รายงานว่านัก ศึกษาแพทย์ปี 1 ไม่ค่อยไว้ใจการเรียนรู้แบบ student-centered learning
สุดท้าย นักเรียนอาจไม่คุ้นเคยกับคำว่า student-centered learning. Lea พบว่า ในการสำรวจนักศึกษาจิตวิทยา 48 คนที่มหาวิทยาลัยพลิมมัธเกี่ยวกับ student-centered learning 60%ไม่เคยได้ยินคำนี้ทั้งๆ เป็นนโยบายของมหาวิทยาลัย
***