Categories
articles Featured Articles

Teaching for Understanding : Article 1การสอนเพื่อความเข้าใจ : ตอนที่ 1

Teaching for Understanding

An Introduction

for

Thai teachers

Shifting the Educational Paradigm  to Student Centered Teaching and Learning

Article:1

Greg Cairnduff

By Greg Cairnduff, 

Director The Australian International School of Bangkok 

January  2012  

 

 

 

Introduction

This article is a  contribution to the  discussion about moving Thai education  from rote learning as the pedagogical norm, towards a pedagogy that is student-centered  and one that  will enhance the capacities of Thai students going into  the 21st Century workforce.

This is the first of a series of three articles on the basics of the methodology known as Teaching for Understanding.

Educational Change is Not Easy to Achieve

The challenge of educational change is well documented  and demonstrated in the practical attempts at reform by education systems around the world. Evidence of reform efforts reveals one inescapable factor: large scale educational change is never easy, nor is it quick to achieve.

The Finnish education system is an outstanding example of a high performing, high quality system. But it should be noted that it took Finnish educators  least 15 years to develop their at system to its current level.

Systemic context is relevant to the pace of successful reform. For example, Finland’s context is one of a relatively small country of under 6 million people compared to Thailand’s population of 62 million. On this count alone, the contexts of the two systems are very different.

Educational Change in Thailand

Thailand has  a very large education system. To move from an old paradigm of education [20th Century model] to a new paradigm [21st Century model] in a system of over 35 000 schools is like turning a large ship around – it takes time and sea space; it can be slow, cumbersome, and hard to achieve in the short term.

Despite these contextual challenges, the shift to student-centered learning is the  shift that is essential for  students’ success in the 21st Century.  In the end it is teachers in the classrooms of Thai schools who have to actually bring about this big change.

What are some of the needs of 21st Century Education?

Students must be prepared differently to enter the Information Age [C21st] workforce than in the Industrial era. The main difference is  preparation related to knowledge work, the kind of work that more and more people will do in the 21st century.

If Thailand is to have workers with the necessary skills for these times, the nation must have an education system that focuses heavily on the skills required for this  century, particularly communication and computer skills

What Knowledge and Skills are required for the 21st Century?

Building knowledge and developing sets of skills have traditionally been considered the mainstays of education.

In the rapidly changing world, the acquisition of the standard skills of reading, writing and numeracy are no longer sufficient. Internationally, education systems are  looking at ways to prepare students for  jobs that involve complex thinking and communication skills. These are the knowledge work jobs of today and tomorrow that require complex skills, expertise and creativity.

What seems certain is that there are two sets of skills that are at the top of job requirements for 21st century work: The ability to quickly acquire and apply new knowledge and  know how to apply certain commonly required skills to all aspects of the workplace; such as  problem solving, communication, teamwork, technology and innovation.

Four powerful elements  are converging and leading towards new ways of learning for life in the 21st century.

These  are generally recognised as:

  • Knowledge work
  • Thinking tools
  • Digital lifestyles
  • Learning research.

The diagram  provides an  indication of how these four elements fit together.

Education Transitions


Knowledge Work

The Thai Education system faces increasing pressure to produce knowledge workers.

Internationally, corporations are making investments in global programs to attract graduates to the high technology fields and to train them in these fields. The Thai education system has to ensure that students are not at a disadvantage when these corporations are in the Thai or international market for knowledge workers. For example, Thai graduates have to compete with well educated graduates from India and China.

In the book, The Elephant and the Dragon: The Rise of India and China and What it Means for all of US, the author, Meredith writes “suddenly Americans must compete with much of the rest of the world for their jobs with much of the rest of the world “ [1] This comment emphasises the same for Thailand – Thai workers are competing with Indian and Chinese workers on the international job market.

Thinking Tools

The mental tasks of knowledge work involve accessing, managing, creating, and communicating information. These tasks are becoming easier and more efficient as digital tools for assisting with the tasks become increasingly sophisticated. Therefore, teaching in and learning in Thai schools has to move towards teaching students methods to help them organise their thinking, as well they need to use the digital tools available to them.

Digital Lifestyles

The terms “digital natives” and “digital immigrants” describe the divide that often exists between the students who are digital natives and their teachers, who are mostly digital immigrants. These digital natives [the students] and the digital immigrants [the teachers], must be able to work together. It is likely that it is the teachers who have to change the most.

Traditional Teaching

Studies of traditional teaching practices reveal numerous and persistent pitfalls. Too frequently students can’t remember what they have learnt or don’t understand the material well enough to apply it in different situations.  Regular classroom activities are often too routine to promote understanding.

The spelling drills, true-and-false quizzes, arithmetic exercises and conventional essay questions so common in the teacher-led classroom, promote the learning of knowledge, but limit the versatility of the skills.  The development of knowledge and routine skills are important, but what students learn is superficial and often remains inert, students are unable to apply their knowledge, or recognize opportunities to do so.

Educators must provide alternate applications for the theory and real-world examples. Learning experiences where students can apply their new knowledge and understanding outside the academic context, and

Teaching for Understanding

The approaches to developing understanding in students as used in many parts of the world  are  often based on the work of Project Zero at the Harvard Graduate School of Education. Faculty members at the Harvard Graduate School of Education collaborated with many experienced teachers and researchers to develop, test, and refine this approach for effective teaching.

It is strongly recommended that readers refer to the web site at:

http://www.uknow.gse.harvard.edu/teaching/TC3-1.html

Teaching for Understanding is based on the premise that students who understand information are more flexible with their knowledge.

What is Understanding?

The term understanding denotes a variety of mental processes, states and structures.

  • Understanding refers to the ability appreciate the nature, significance, or explanation of a concept and apply these concepts appropriately (Merriam-Webster Collegiate Dictionary, 2002).
  • Understanding implies to the ability to make connections between facts [knowledge] and relating newly acquired information, to that which is already known and integrating knowledge into a cohesive whole so that ideas and concepts are understood.

The Need to Develop Understanding in the Teaching and Learning Process

Educators and students find themselves in the middle of an information explosion and a rapidly changing world.  The increased body of information proves problematic for teaching and learning. It is no longer feasible for students to memorize all the facts and figures that come at them on a daily basis.  Instead, teachers need to work with students to develop their ability to understand concepts and principles that will permit them to operate in the rapidly evolving world.

Researchers and educational reformers have worked collaboratively to develop a definition of understanding and identify approaches to teaching that develop skills and improve student understanding.

Developing Understanding  

Students’ ability to understand the world needs to be developed so they are able to adapt to new situations and apply their understanding to enable them to solve  problems.

The application of skills and knowledge beyond the classroom requires more than just the ability to do the task. It requires understanding of concepts and big ideas.

In Thailand [and not only Thailand] most of the current teaching practice has students acquiring knowledge and routine skills without necessarily any real understanding of the concepts and reasons which underpin the acquired knowledge. Often students know how to do something, but they have no depth of understanding of the processes and outcomes of what they are doing.

For example, students may know how a car can be driven so that it moves, but do they understand the chemistry and physics in causing this to happen?

In looking at an issue for example, the environment, it is necessary to have an understanding of the internal combustion engine in order to make judgments about the impact of the car on the environment.

Implications for Thai teachers

The challenge for Thai teachers is to move their practice from mainly teaching and testing the acquisition of knowledge to teaching students to think, ask questions, and develop deep understanding of the knowledge they acquire and rather than testing knowledge,  assessment ought to part of the learning process.

Articles presented in http://www.SCLThailand.org earlier by Ellen Cornish and Dr Don Jordan [December, and September October 2011] provide practical examples of how teachers can plan for this type of teaching.  

Article 2 in this series on Teaching for Understanding in February, will suggest ways teachers can enhance the development of deep understanding.


[1] Meredith, R. The Elephant and the Dragon: The Rise of India and China and What it Means for all of US New York, Norton, p190


Categories
articles Featured Articles

Student Centered Learning: A Case for Integrated Learning Classroomsการเรียนรู้แบบนักเรียนเป็นศูนย์กลาง – กรณีศึกษาห้องเรียนการเรียนรู้แบบบูรณาการ


Ms Ellen Cornish and Dr Don W Jordan

Our classroom experience has shown us that the many benefits of moving away from rote learning to an integrated learning classroom, is that skills, values and understandings can best be taught and assessed within meaningful ‘connected’ contexts. Based on our understanding of students’ needs, interests, prior knowledge and experience, we planned a set of broad understandings to help frame our unit of work. These understandings – though specific to the topic – incorporated some of the    key concepts that students explore with increasing sophistication as they move through school.  The following is an example of what our classroom planning and teaching towards enhancing understanding in an integrated classroom looks like, sounds like, and feels like, together with a suggested unit of work on the human body, feel good feel great.

Integrated learning advantages teachers and students by:

·         Reflecting, more closely, the interdependence between all aspects of life in the real world

·         Challenging learners to use and develop their thinking as they work to make connections and see the ‘big picture’

·         Catering to the various learning styles and preferences held by students

·         Managing an increasing crowded curriculum

·         Meeting outcomes in context

·         Making more ‘sense’ to the school day – as activities have stronger links with each other

·         Providing students with a greater degree of control over learning

·         Encouraging staff to plan and work in teams

·         Structuring a meaningful context for the teaching and assessment of outcomes across key learning areas

·         Enabling students to transfer knowledge, skills and values across content and experiences

·         Skilling students to process and respond to experience in a range of ways

·         Linking purposes with activities more explicitly

·         Enriching understanding, enjoyment and reflection in teaching and learning.

The essence of this approach to planning is the relationship between those learning areas concerned with ‘the world around us’ (science, technology, health, and environmental and social education) and those areas through which we explore and come to understand that world (language, mathematics, art, drama, dance, music and aspects of technology.  Kath Murdoch (2003, P.1)

 

Creating an Integrated Classroom

 

An Integrated Classroom

Connects Prior Learning to New Learning

 

 

Fosters Reflective Practices

Makes Learning Meaningful

Recognises Individual Differences

Looks like

 

  • Teachers working / planning collaboratively.
  • Desks arranged in clusters of 4-6.
  • Activity centres with work space and resources.
  • Wall displays of student work and instructional material.
  • Comfortable reading space. (Cushions and books).

  • Smiling faces.

 

  • Tuning in activities using various graphic organisers e.g. what I know, what I would like to know etc.
  • Teacher assessment. (formative, summative).

 

  • Teacher and student created rubrics.
  • Students displaying their learning in a number of ways, e.g talking, writing, art, drama etc.

 

  • Relevant and up to date resources.

 

  • Adequate work spaces for students.
  • Curriculum relevant to student needs and interests.

 

  • Classroom program arranged to allow students to find space and resources. Allowing the teacher to give time and encouragement to students in order to demonstrate their learning across curriculum areas.
  • Learning program developed so that students can enter at their level and be extended and challenged.

Sounds like

 

  • Students discussing and helping each other.
  • The teacher interacting with individuals and groups.
  • Students confidently sharing their learning with the class through speaking, writing, drama, music, art.

 

 

 

 

 

 

  • Students being able to discuss their understandings and to make connections.

 

 

 

 

 

 

  • Students confidently explaining, discussing their learning with peers, teacher and parents.

 

 

 

 

  • Teacher making learning objectives clear.
  • Opportunities for students to takes risk in sharing their learning.

 

 

 

 

  • The sound of discussion between students and between students and teacher.
  • Students sharing the learning with peers, parents and teacher.

 

Feels like

  • Warm and safe to share confidently.
  • To ask questions and give opinions.
  • Inviting and feeling part of the group.

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

  • Warm and safe to share confidently.
  • To ask questions and give opinions.
  • Inviting and feeling part of the group.

 

 

 

  • Warm and safe to share confidently.
  • To ask questions and give opinions.
  • Inviting and feeling part of the group.

 

  • Students feeling confident to share their understandings with others.

 

 

 

 

 

 

  • Supportive environment so students feel comfortable to give thoughts and opinions.

 

 

 

 

 

 

 

 

References

Murdoch, K. (2003), Classroom Connections; Strategies for Classroom Learning. Australia: Publishing Solutions.

 

Glossary

Overarching Goals: Goals which overshadow the whole topic.

Tuning In: Finding out what the students already know about the topic, as well as what they would like to find out in order to stimulate their interest and enthusiasm for the topic.

Brainstorm: group discussion and sharing of ideas.

Guiding Questions: questions related to the topic which promote thought as well as refining the investigation to be undertaken.

Graphic Organiser: Charts which help visually organise information (there are many examples, including Y charts, T charts, fish bones, placemats, concept maps, flow charts etc. on the internet)

Rubrics: Teacher or student generated charts based on the topic being studied to assist with self-assessment.

Formative Assessment: Teacher assessment, as well as student self-assessment which can be demonstrated through drama, oral presentations, written material, information technology, art and craft etc.

Summative Assessment: System and school based testing.

Culmination: The final part of the topic where students demonstrate their understandings using a variety of methods including drama, information technology, oral presentations, written material, art and craft etc.

 

 

 

 

โดย Ellen Cornish  และ  Dr Don W Jordan

จากประสบการณ์ในชั้นเรียนของเราได้แสดงให้เราเห็นว่าประโยชน์ของการเปลี่ยนการเรียนการสอนจากแบบท่องจำ มาเป็นการเรียนแบบบูรณาการในชั้นเรียนนั้น ไม่ว่าจะเป็นด้านทักษะ ด้านคุณค่าแห่งการเรียนรู้ และความเข้าใจ ก็จะสามารถประเมินได้อย่างมีเหตุมีผล และ “เชื่องโยง” กับเนื้อหา ทั้งนี้การเรียนแบบนี้จะต้องขึ้นอยู่กับความเข้าใจในนักเรียนของเรา ทราบถึงความต้องการของนักเรียน ความสนใจ ประสบการณ์และความรู้เบื้องต้นที่นักเรียนมีมาเป็นพื้นฐาน เราจะต้องวางโครงร่างความเข้าใจเพื่อช่วยในการวางแผนการสอน ความเข้าใจนี้เป็นไปตามหัวข้อเรื่องที่จะเรียนแต่ประสานร่วมกับประเด็นสำคัญที่นักเรียนจะสามารถเปิดโลกทัศน์ได้ตามความสนใจของนักเรียน กรณีต่อไปนี้เป็นตัวอย่างที่ดีเกี่ยวกับการวางแผนห้องเรียนและวางแผนการสอน โดยเน้นและให้ความสำคัญกับความเข้าใจ ระบุให้เห็นว่าในการเรียนการสอนแบบบูรณาการควรจะมีหน้าตา ลักษณะอย่างไร พร้อมกันนั้นกรณีศึกษานี้ได้ให้แบบเสนอแนะเกี่ยวกับเรื่องอากับกิริยาของนักเรียน เมื่อรู้สึกใช่ รู้สึกดี ไว้ด้วย

การเรียนรู้แบบบูรณาการสามารถพัฒนาครูและนักเรียนได้จาก

·         การสะท้อนภาพให้เห็นอย่างชัดเจนขึ้น โดยคำนึกถึงแง่มุมต่างๆในชีวิตและในโลกความเป็นจริง

·         ท้าทายให้ผู้เรียนได้ใช้และพัฒนาทักษะการคิด ในขณะที่ผู้เรียนเรียนรู้เพื่อเชื่องโยงให้เห็น “ภาพรวม”

·         เหมาะสมกับผู้เรียนหลากหลายรูปแบบและสามารถจัดการเรียนรู้ได้ตามความชื่นชอบของนักเรียน

·         การจัดการหลักสูตรที่หนาแน่นขึ้นได้

·         บรรลุผลลัพธ์จากเนื้อหา

·         ชีวิตประจำวันในโรงเรียนดูมีความ ”เข้าท่า” มากขึ้น เนื่องจากกิจกรรมต่างๆ เชื่องโยงกันมากขึ้น

·         การให้นักเรียนสามารถควบคุมการเรียนรู้ของตัวเองได้มากขึ้น

·         สนับสนุนให้เจ้าหน้าที่ในโรงเรียนวางแผนและทำงานเป็นทีม

·         การจัดโครงสร้างเนื้อหาที่มีความสมเหตุสมผลสำหรับครูและการประเมินวัดผลของผลที่ได้รับกับพื้นที่การเรียนรู้ที่หลากหลาย

·         นักเรียนสามารถแลกเปลี่ยนความรู้ ทักษะและคุณค่าของความรู้จากเนื้อหาและประสบการณ์

·         สร้างทักษะนักเรียนให้พัฒนาและตอบสนองกับประสบการณ์ต่างๆ ได้หลากหลาย

·         เชื่องโยงวัตถุประสงค์กับกิจกรรมได้อย่างชัดเจนขึ้น

·        การเกิดความเข้าใจที่สมบูรณ์ รู้สึกสนุกและสามารถสะท้อนภาพการเรียนการสอนได้

หัวใจสำคัญในการวางแผนการสอนตามแนวทางนี้คือการจัดความสัมพันธ์ที่เชื่องโยงระหว่างสิ่งที่เกี่ยวข้องกับสิ่งที่เรียนกับ “โลกรอบตัวเรา” (วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี สาธารณสุข และสิ่งแวดล้อม และสังคมศึกษา) และพื้นที่อื่นๆ ที่เรามีส่วนเกี่ยวข้องหรือโลกที่เราต้องเข้าใจ (ภาษา คณิตศาสตร์ ศิลปะ ละคร ดนตรี และแง่มุมของเทคโนโลยี) Kath Murdoch (2003, P.1)

การสร้างชั้นเรียนแบบบูรณาการ

ชั้นเรียนแบบบูรณาการ

เชื่องต่อความรู้เดิมกับความรู้ใหม่

 

 

กระตุ้นให้เกิดการคิดแบบสะท้อน

ทำให้การเรียนรู้มีความหมาย

ตระหนักถึงข้อแตกต่างของแต่ละคน

มีลักษณะอย่างไร

 

  • ครูทำงานและวางแผนร่วมกับนักเรียน
  • จัดโต๊ะและเก้าอี้เป็นกลุ่มย่อย 4-6 โต๊ะ
  • ความสนใจมุ่งไปที่ชิ่นงานหรือแหล่งเรียนรู้
  • ผนังห้องโชร์ผลงานนักเรียนและสื่อเสนอให้เห็นโครงสร้างต่างๆ
  • มีพื้นที่การอ่านที่น่าใช้งาน (โชฟาและหนังสือต่างๆ)

 

  • หน้าตายิ้มแย้มแจ่มใส

 

  • ปรับเข้าสู่กิจกรรมหรือชิ้นงานด้วยวิธีการต่างๆ เช่น อะไรที่นักเรียนทราบแล้ว หรือ อะไรที่นักเรียนต้องการรู้

 

 

  • การประเมินจากครูแบบไม่เป็นทางการ และแบบสรุปความ
  • นักเรียนและครูสร้างโครงร่างระบบการเรียนรู้ร่วมกัน
  • นักเรียนแสดงออกว่ากำลังเรียนรู้ในหลากหลายวิธี เช่น พูด เขียน วาด หรือเล่นละคร

 

  • มีสื่อและแหล่งเรียนรู้ที่ทันสมัยและเหมาะสมกับเนื้อหา

 

  • นักเรียนมีพื้นที่ในการเรียนรู้และทำงานที่เหมาะสม
  • หลักสูตรเชื่องโยงและเกี่ยวข้องกับความต้องการและความสนใจของนักเรียน
  • การจัดการห้องเรียนอนุญาตให้นักเรียนสามารถหาแหล่งเรียนรู้ได้ อนุญาตให้ครูสามารถให้เวลากับนักเรียน และสามารถกระตุ้นให้นักเรียนแสดงออกถึงการเรียนรู้ของเขาในแง่มุมต่างๆ ของหลักสูตร
  • หลักสูตรการเรียนรู้ที่มีการพัฒนา เพื่อให้นักเรียนได้เรียนในระดับของตน และได้การท้าทายจากหลักสูตรในเวลาเหมาะสม

มีโสตสำเนียงอย่างไร

 

  • นักเรียนแสดงความคิดเห็นและช่วยเหลือกัน
  • ครูมีปฏิสัมพันธ์กับนักเรียนเป็นรายบบุคคลและเป็นกลุ่ม
  • นักเรียนมีความมั่นใจในการแลกเปลี่ยนความรู้ในห้องผ่านการพูด เขียน ร้องเพลงหรือเล่นละคร

 

 

 

 

 

 

  • นักเรียนสามารถถกเถียงความเข้าใจ แลกเปลี่ยนกันและสร้างความเชื่องโยงได้

 

 

 

 

 

 

  • นักเรียนมีความมั่นใจในการอธิบาย แลกเปลี่ยนความรู้กับเพื่อนร่วมชั้น ครูและผู้ปกครอง

 

 

 

 

  • ครูชี้แจงวัตถุประสงค์ในการเรียนรู้ที่ชัดเจน
  • เปิดโอกาสให้นักเรียนโต้เถียงและแสดงความเห็นต่างเพื่อแลกเปลี่ยนการเรียนรู้

 

 

 

 

  • มีเสียงการแลกเปลี่ยนระหว่างนักเรียน และระหว่างครูกับนักเรียน
  • นักเรียนแลกเปลี่ยนการเรียนรู้กับเพื่อ ครูและผู้ปกครอง

 

ให้ความรู้สึกอย่างไร

  • บรรยากาศที่อบอุ่น ปลอดภัยในการแลกเปลี่ยนอย่างมั่นใจ
  • มีการถามคำถามและให้ความคิดเห็น
  • เชื้อเชิญและรู้สึกเป็นส่วนหนึ่งของกลุ่ม

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

  • บรรยากาศที่อบอุ่น ปลอดภัยในการแลกเปลี่ยนอย่างมั่นใจ
  • มีการถามคำถามและให้ความคิดเห็น
  • เชื้อเชิญและรู้สึกเป็นส่วนหนึ่งของกลุ่ม

 

 

 

  • บรรยากาศที่อบอุ่น ปลอดภัยในการแลกเปลี่ยนอย่างมั่นใจ
  • มีการถามคำถามและให้ความคิดเห็น
  • เชื้อเชิญและรู้สึกเป็นส่วนหนึ่งของกลุ่ม

 

 

  • นักเรียนรู้สึกมั่นใจในการแลกเปลี่ยนความเข้าใจของตนกับคนอื่น

 

 

 

 

 

 

 

 

  • บรรยากาศที่สนับสนุน ให้นักเรียนรู้สึกสบายในการแสดงความคิดและเสนอความคิดเห็น

 

 

 

 

 

 

 

 

หนังสืออ้างอิง

Murdoch, K. (2003), Classroom Connections; Strategies for Classroom Learning. Australia: Publishing Solutions.

 

อภิธานศัพท์

เป้าหมายครอบคลุม (Overarching Goals): เป้าหมายที่ครอบคลุมหัวข้อทั้งหมด

ปรับเข้าสู่บรรยากาศ  (Tuning In): ค้นหาว่านักเรียนรู้อะไรอยู่แล้วในหัวข้อนี้ ในขณะเดียวกันค้นหาว่านักเรียนต้องการอยากรู้อะไร เพื่อกระตุ้นให้นักเรียนสนใจและมีความกระตือรือร้นกับหัวข้อนั้น

ระดมสมอง (Brainstorm): การแลกเปลี่ยนในกลุ่มและวิพากท์เพื่อให้ได้ความคิดที่หลากหลาย

คำถามเชิงชี้แนะ (Guiding Questions): คำถามที่เกียวกับหัวข้อที่เรียนรู้ ที่ชี้แนะหรือสนับสนุนให้เกิดการคิด ค้นหา และการมีส่วนร่วมในการเรียนรู้

สื่อเสนอให้เห็นโครงสร้าง (Graphic Organiser): สื่อหรือกราฟหรือภาพประกอบที่ช่วยให้นักเรียนเห็นการจัดการเชิงรูปธรรม เช่น กราฟตัววาย Y กราฟตัวที T กราฟก้างปลา แผนที่โครงสร้าง ผังการจัดการ สิ่งเหล่าหาได้ไม่ยากในอินเตอร์เน็ท

โครงร่างระบบการเรียนรู้แบบรูบิค  (Rubrics): ครูหรือนักเรียนสร้างโครงร่างการเรียนรู้จากหัวข้อที่กำลังเรียนอยู่เพื่อช่วยประเมินตัวเองในกระบวนการเรียนรู้

การประเมินอย่างไม่เป็นทางการ (Formative Assessment): การประเมินผลของครูและนักเรียนในการประมเนตนเอง ที่สามารถทำได้โดยผ่านการแสดงออกเช่น การเล่นละคร การนำเสนอหน้าห้อง การผลิตงานเขียน หรืการใช้สื่อเทคโนโลยี รวมทั้งผ่านงานศิลปะต่างๆ

การประเมินแบบสรุปความ (Summative Assessment): การทดสอบโดยยึดระบบและตามกรอบของโรงเรียน

ประเด็นสำคัญที่สุด (Culmination): ส่วนสุดท้ายของหัวข้อที่นักเรียนจะแสดงออกถึงความเข้าใจของตัวเองโดยผ่านวิธีการต่างๆ เช่น การเล่นละคร การนำเสนอหน้าห้อง การผลิตงานเขียน หรืการใช้สื่อเทคโนโลยี รวมทั้งผ่านงานศิลปะต่างๆ

 

 

 


Categories
Uncategorized

การเรียนแบบนักเรียนเป็นศูนย์กลาง

การเรียนแบบนักเรียนเป็นศูนย์กลาง : ทำความเข้าใจตำนานอย่างลึกซื้ง
อาจารย์ชุติมา ธรรมรักษา

ครูเป็นศูนย์กลาง หรือ ครูเป็นหลักโดยตรงเป็นศูนย์กลางของการศึกษาประเทศไทยมาช้านาน แนวปฏิบัติดังกล่าวได้วางรากฐานการเรียนแบบตามบทเรียน หรือ การเรียนแบบจดจำ มากกว่าเรียนเพื่อพัฒนาทักษะการคิดของผู้เรียน ข้อบกพร่องของระบบดังกล่าวเห็นได้จากความไม่กระตือรือร้นของผู้เรียนที่ขาดทักษะการคิดเชิงวิเคราะห์และไม่มีความคิดสร้างสรรค์  จากการตระหนักถึงข้อบกพร่องนี้ กระทรวงศึกษาธิการได้ริเริ่มการปฏิรูประบบการศึกษาครั้งสำคัญขึ้น จากรูปแบบที่ครูเป็นศูนย์กลางแบบดั้งเดิมสู่แนวทางการให้นักเรียนเป็นศูนย์กลาง ด้วยมุ่งหวังจะผลิดผู้เรียนที่มีศักยภาพ มีสมรรถณะ มีความเป็นตัวของตัวเอง และสามารถเรียนรู้อย่างยั่งยืนได้ และจะสามารถยืนอยู่บนโลกแห่งการแข่งขันนี้ได้
อย่างไรก็ตาม การเปลี่ยนแปลงต่างๆ ที่เป็นผลมาจากการนำนโยบาย นักเรียนเป็นศูนย์กลางมาปฏิบัติใช้ ได้ทำให้คุณครูจำนวนไม่น้อยสับสบและงุนงงกับบทบาทและแนวทางการสอนของตนเอง บทความที่จะนำเสนอต่อไปนี้ต้องการที่จะสร้างความกระจ่าง ชี้แจงข้อสงสัยดังกล่าวโดยการให้นิยามและคำจำกัดความของแนวคิดต่างๆ และยังจะนำเสนอตัวอย่างจากแง่มุมต่างๆ ที่ตรงประเด็นกับแต่ละแนวคิดด้วย
บทนำ
ประเด็นเรื่อง นักเรียนเป็นศูนย์กลาง หรือผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง ได้กลายเป็นที่สนใจของนักการศึกษา โรงเรียน วิทยาลัยครู ในช่วงหลายปีที่ผ่านมา ในความเป็นจริงแล้วแนวคิด “นักเรียนเป็นศูนย์กลางการเรียนรู้” ไม่ได้รับการกล่าวถึงไม่มาก กระทั้งในพระราชบัญญัติการศึกษา ปี 2542 นักเรียนเป็นศูนย์กลางการเรียนรู้กลายเป็นประเด็นหลักในการปฏิรูปการศึกษา แนวคิดใหม่นี้ ได้ถูกคาดหวังว่า จะเป็นตัวช่วยเพิ่มประสิทธิภาพให้แก่ประชากรไทย ให้อยู่รอดได้ในสังคมที่มีการแข่งขันเพิ่มขึ้น ในระบบเศรษฐกิจที่ความรู้เป็นตัวขับเคลื่อน และในโลกของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
แม้จะได้รับความสนใจอย่างมาก อย่างไรก็ตาม สิ่งที่ตามมาคือความสับสนและความไม่มั่นใจในกระบวนทัศน์การเรียนการสอนภายในแนวคิดและแนวทางใหม่นี้ คุณครูบางท่านมองแนวคิดใหม่นี้ว่าเป็นการคุกคามระบบ ครูเป็นศูนย์กลาง หรือ ครูเป็นผู้นำ ที่มีมายาวนาน ในขณะเดียวกันบางท่านเกรงว่าแนวคิดใหม่นี้จะลดบทบาทที่สำคัญของครูในชั้นเรียน และเช่นกัน นักเรียนเอง บางคนก็ไม่สบอารมณ์กับแนวคิดใหม่นี้ อย่างที่เราได้เห็นตามรายงานข่าวในหน้าหนังสือพิมพ์ล่าสุดนี้ ที่ว่า “แนวคิด นักเรียนเป็นศูนย์การการเรียนรู้ เปรียบได้กับ “ควาย” เป็นศูนย์กลางการเรียนรู้”  ตามจริงแล้ว คำว่า “ควาย” สำหรับคนไทยเราหมายถึง วัวตัวใหญ่ที่ใช้ในการลากไถช่วยเหลือชาวนา หากเมื่อใช้กับคนหรือกับแนวคิดนั้น มีความหมายเป็นนัยยะ เปรียบเทียบคนหรือแนวคิดนั้นว่า โง่เขลา
การกล่าวว่าระบบ นักเรียนเป็นศูนย์กลาง ก็คือ ระบบ “ควาย” เป็นศูนย์กลางนั้น เป็นการบอกให้ทราบว่าระบบนี้เป็นระบบที่ไม่เป็นประโยชน์ เป็นเรื่องน่าผิดหวัง และมันจะไม่ช่วยนักเรียนให้ฉลาดขึ้น แต่กลับจะระงับการพัฒนาของเด็กๆ คำวิพากย์วิจารณ์นี้แสดงให้เห็นชัดเจนว่ารูปแบบการเรียนการสอนนี้ล้มเหลว ไม่ใช่ด้วยตัวรูปแบบเอง แต่เป็นผลมาจากการตีความที่ผิดๆ การนำไปปฏิบัติที่ผิดๆ และการต่อต้านรูปแบบการเรียนการสอนใหม่
แม้จะมีการอธิบายเชิงลายลักษณ์อักษรเรื่องนักเรียนเป็นศูนย์กลางการเรียนรู้ แต่อาจกล่าวได้ว่าครูส่วนใหญ่ยังไม่เชื่อว่าจะเป็นวิธีในการเสริมสร้างคุณภาพการเรียนรู้ของนักเรียน ที่แย่ไปกว่านั้น ครูไม่มั่นใจถึงขั้นตอนการปฏิบัติ หรืออะไรที่ควรปฏิบัติเพื่อให้แนวคิดนี้เกิดขึ้นและปฏิบัติได้จริง คำถามมากมายเรื่องความเป็นไปและการบังคับใช้ของการสอนแนวใหม่นี้ได้ถูกหยิบยกขึ้นมาอย่างกว้างขวางในสังคมของคุณครู ดังนั้น เอกสารฉบับนี้จึงพยายามให้ความกระจ่าง วิเคราะห์หลักการและแง่มุมต่างๆ ของแนวคิด นักเรียนเป็นศูนย์กลาง ผ่านคำถามที่มักถูกเอ่ยถึงหรือถามถึงมากที่สุด ได้แก่
อะไรคือการเรียนรู้ แบบนักเรียนเป็นศูนย์กลาง
คำตอบคือเพียงแค่เอานักเรียนมาเป็นศูนย์กลางในการเรียนรู้ หรือรูปแบบที่นักเรียนถูกวางไว้เป็นแกนหลักในกระบวนการการเรียนรู้ เริ่มกันตั้งแต่ ความต้องการของนักเรียน ความเห็นของนักเรียน ภูมิหลังของนักเรียน และจุดประสงค์ของนักเรียน สิ่งเหล่านี้ต้องได้รับความสนใจและมีส่วนร่วมในบริบทการเรียนรู้ ภายใต้รูปแบบนี้ ครูจะเป็นผู้ชี้แนะโดยดูว่าอะไรเหมาะสมกับนักเรียนที่สุด เมื่อช่วยเหลือให้นักเรียนเรียนและตัดสินใจ
หลักการของ นักเรียนเป็นศูนย์การการเรียนรู้มีที่มาจากหลากหลายรูปแบบ เริ่มต้นพัฒนาการมาจากทฤษฏีการเรียนรู้สามารถสร้างได้ ที่เชื่อว่าเราสามารถจัดโครงสร้างให้กับความรู้ได้อย่างมีเอกภาพและมีเอกลักษณ์ได้ในหลากหลายทาง (Vygotsky, 1978, cited in Bush & Saye, 2000) และยังพัฒนาการมาจากการเรียนรู้จากประสบการณ์ กล่าวคือการสอนคือการส่งผ่าน สืบต่อของความรู้ที่มีอยู่แล้ว (Kohonen, 1992) และการเรียนรู้ และมาจากรูปแบบการเรียนรู้อย่างกระตือรือร้น ที่เสนอให้กิจกรรมการเรียนรู้ทุกกิจกรรมต้องมีการปฏิบัติเพื่อให้ได้ประสบการณ์ตรง หรือต้องมีการโต้ตอบ อย่างเป็นการโต้ตอบกับตัวเองหรือผู้อื่น (Fink, 2002).SLLT 2003 page 61
อะไรคือหน้าตาและลักษณะของการเรียนรู้แบบนักเรียนเป็นศูนย์กลาง
จากพื้นฐานของรูปแบบต่างๆ ที่การเรียนรู้แบบนักเรียนเป็นศูนย์กลางพัฒนามาจาก ได้ก่อให้เกิดลักษณะดังต่อไปนี้
–       มุ่งเน้นไปที่ให้มีการเรียนรู้อย่างมีการโต้ตอบ ใช้แนวคิดต่างๆ ร่วมกันเพื่อเชื่องต่อการเรียนรู้ใหม่กับการเรียนรู้เดิม กระตุ้นความสนใจและสิ่งที่เชื่องโยงกัน เปิดโอกาสให้ผู้เรียนหรือนักเรียนมีทางเลือกและควบคุม ปรับเปลี่ยน เพื่อความต้องการในการพัฒนาที่แตกต่างกันของแต่ละคน พร้อมกันนั้นยังให้การดูแลและสร้างบรรยากาศการที่ส่งเสริมการเรียนรู้
–       จัดโครงสร้างความรู้โดยผ่านการเรียนรู้ที่แท้จริง คือการเรียนในบรรยากาศจริงหรือในบริบทที่ความรู้เกิดขึ้นหรือถูกสร้างขึ้น หรือจะกล่าวได้อีกอย่างว่า เชื่อมต่อประสบการณ์การเรียนรู้ในโรงเรียนกับสถานการณ์ของโรลกความจริงนั้นเอง
–       นักเรียนมีส่วนร่วมในขั้นตอนการเรียนรู้ มากกว่าการเป็นผู้รับความรู้ นักเรียนจะได้รับโอกาสในการมีส่วนร่วมและเพิ่มความรู้สึกรับผิดชอบเพื่อให้ทราบถึงทิศทางการเรียนรู้ของตัวเองและความต้องการในการเรียนรู้ของตนเอง รู้แหล่งของการเรียนรู้ และจัดโครงสร้างความรู้ตามความต้องการของตัวเอง
–       จัดกิจกรรมในชั้นเรียนและโครงงานที่แตกต่าง เพื่อให้ผู้เรียนหรือนักเรียนได้มีทางเลือกหลากหลายในการคัดสรรตามความต้องการของนักเรียนแต่ละคน เป็นผลมาจากการตระหนักว่านักเรียนแต่ละคนมีศักยภาพต่างกัน มีความชื่นชอบในรูปแบบการเรียนรู้และมียุทธวิธีในการเรียนรู้ที่ต่างกัน
–       บรรยากาศในการเรียนรู้ กล่าวคือการเรียนรู้ควรเกิดขึ้นได้ทุกที่ และทุกเวลา ทั้งในรูปแบบต่างและในความหมายต่างๆ ที่สามารถสร้างสรรค์ได้ บรรยากาศการเรียนรู้เช่นนี้จะช่งยสร้างเสริมให้นักเรียนมีส่วนร่วมและมีความรับผิดชอบในการศึกษาของตน ดังนั้นนักเรียนได้ถูกเตรียมตัวในบรรยากาศที่แท้จริงด้วยกิจกรรมนอกห้องเรียนที่จะเพิ่มการเรียนรู้ของนักเรียนในมิติต่างๆ
–       นักเรียนถูกกระตุ้นจากภายใน (มีแรงจูงใจของตัวเอง) มากกว่าถูกกระตุ้นจากภายนอก (แรงจูงใจจากภายนอก) หรือกล่าวง่ายๆ ว่านักเรียนมีแรงจูงใจจากภายในไม่ใช่จากภายนอก ยกตัวอย่างเช่น นักเรียนพิมพ์รายงานส่งเพราะนักเรียนต้องการสร้างความภูมิใจให้งานของตัวเองไม่ใช่ต้องการให้คนอื่นชื่นชมวิธีการนำเสนอนี้
ทำไมต้องเปลี่ยนมาเป็นรูปแบบการเรียนรู้ใหม่นี้
การเรียนรู้แบบดั้งเดิมมีปัญหาอะไรหรือ
เพื่อเป็นการตอบคำถามสองข้อนี้ เราต้องมองย้อนกลับไปถึงการวิเคราะห์ธรรมชาติของการเรียนรู้แบบดั้งเดิมที่ครูเป็นศูนย์กลางก่อน และดูถึงผลที่ได้รับจากการเรียนรู้แบบดั้งเดิมต่อผู้เรียน เพื่อให้เข้าใจว่าทำไมแนวทางการเรียนรู้แบบนักเรียนเป็นศูนย์กลางจึงควรได้รับการสนับสนุนให้เป็นทางเลือกใหม่
แนวคิด ครูเป็นศูนย์กลาง ได้รับอิทธิพลมาจากแนวความคิดที่ว่าองค์ความรู้นั้นคือบางอย่างที่สามารถส่งต่อจากครูสู่นักเรียนได้ เสมือนการเรียนรู้แบบสองมิติ โดยโครงสร้างว่าครูสู่นักเรียน  ในห้องเรียนครูเสมือนเป็นบุคคลที่ได้รับมอบหมายให้มีหน้าที่พัฒนาความรู้และทักษะ ประเมินและแก้ไขการปฏิบัติของผู้เรียนตามกฏเกณฑ์ที่ครูท่านนั้นได้ตั้งขึ้นไว้ นักเรียนคือผู้รับความรู้และคาดหวังว่าครูจะควบคุมจัดการเบ็ดเสร็จในกระบวนการเรียนรู้นั้น ดังนั้น กระบวนการเรียนรู้ที่ปฏิบัติในห้องเรียนแบบไม่มีการโต้ตอบที่ใช้กันทั่วไปนี้มีการประยุกต์มาจาก IRE คือ ครูริเริ่ม นักเรียนตอบสนอง และครูประเมินผล (Mehan,1979)
ในรูปแบบ IRE ครูผู้สอนจะอยู่ด้านหน้าของชั้นเรียนเสมอ ให้ความรู้ ถามนักเรียนเพื่อให้นักเรียนแสดงว่าเข้าใจความรู้ที่เพิ่งสอนไป จากนั้นประเมินผลการปฏิบัติหรือคำตอบของนักเรียน การสอนแบบครูเป็นศูนย์กลางนี้ยังรากลึกในสังคมไทย สังคมที่ระบบ “ผู้ใหญ่ ผู้น้อย” เป็นคุณค่าสำคัญของสังคม เนื่องจากคนไทยให้ความสำคัญกับการที่ผู้น้อยควรเคารพผู้ใหญ่ ตามลำดับ และเกี่ยวข้องกับเรื่องอำนาจสิทธิ์ขาด (Williams, 1980)  ดังนั้นครู ผู้ที่มีสถานะสูงกว่านักเรียน ผู้ที่ถือได้ว่าเป็นพ่อแม่คนที่สอง หน้าที่ของครูมิใช่เพียงสั่งสอนความรู้ สั่งสอนคุณธรรม และกล่อมเกลานักเรียนให้เป็นพลเมืองที่ดีของชาติด้วย ด้วยภาพลักษณ์ที่คนทั่วไปมองครูว่าเป็น “ผู้รู้โดยชอบธรรม” ผู้ประสิทธิ์ประสาสตร์ความรู้เช่นนี้แล้ว ไม่ต้องกล่าวเลยว่าในกระบวนการเรียนรู้ ครูจึงผู้วางไว้เป็นศูนย์กลาง ไม่ใช่ผู้เรียนหรือนักเรียนเป็นศูนย์กลาง
ด้วยปัจจัยทั้งสองที่กล่าวมาแล้วคือระบบ ผู้ใหญ่ ผู้น้อยของสังคม และรูปแบบการส่งทอดทางการศึกษานี้ เราก็จะเข้าใจได้ชัดเจนขึ้นว่าทำไมครูไทยจึงจำเป็นต้องคงภาพลักษณ์ความเป็น “ผู้รู้โดยชอบธรรม” ด้วยการยึดรูปแบบการเรียนการสอน แบบครูยืนหน้าห้อง และการสอนแบบ IRE ไว้
อย่างไรก็ตาม โชคร้ายมากที่ระบบการสอนที่ครูไทยนิยมปฏิบัตินี้มีข้อเสียอย่างมาก รูปแบบนี้ได้ส่งให้ผู้เรียนเป็นผู้รับความรู้โดยไม่โต้ตอบ เป็นผู้ฟัง จำ และซึบซับข้อมูลที่ส่งมาโดยผู้รู้ นักเรียนไม่ใช่ผู้ริเริ่ม หรือผู้มีข้อสงสัยต่อสิ่งที่เรียนรู้
นักเรียนไม่ได้ถูกฝึกให้ใช้ความคิดอย่างวิเคราะห์ วิจารณ์หรือสะท้อนเปรียบเทียบ ซ้ำร้ายไปกว่านั้น ระบบการศึกษานี้ไม่ได้เตรียมนักเรียนให้เป็นผู้เรียนรู้อย่างอิสระ ที่ตระหนักว่าความรู้มีโครงสร้งและสามารถเรียนได้หลายรูปแบบ นักเรียนไม่ตระหนักเห็นคุณค่าของการเรียนรู้ ไม่ตระหนักว่าการเรียนรู้เป็นกระบวนการต่อเนื่องตลอดชีวิต ทั้งยังไม่เข้าใจว่าไม่มีคนอื่นที่มีส่วนรับผิดชอบการเรียนรู้ของตนเองนอกจากตัวผู้เรียนเอง
เพื่อให้เท่าทันโลกที่เปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็วของข้อมูลข่าวสารและเศรษฐกิจที่ต้องการทักษะการคิดวิเคราะห์ เราต้องเสริมสร้างนักเรียนของเรา เราต้องสร้างให้นักเรียนของเราคิดอย่างวิเคราะห์และคิดอย่างอิสระ และรู้รับผิดชอบ และมีส่วนร่วมกับการเรียนรู้ของเขา นักเรียนต้องสามารถกำหนดทิศทางของตัวเองและเป็นผู้มีส่วนร่วมที่กระตือรือร้นในบริบทการเรียนรู้เชิงวิชาการนี้ ด้วยความสำคัญเหล่านี้ ถึงเวลาแล้วที่เราต้องพัฒนาการให้ความรู้จากแบบสองมิติ ครูสู่นักเรียน ไปเป็นโครงสร้างแบบนักเรียนเป็นศูนย์กลางการเรียนรู้เชิงสามมิติ ที่ที่นักเรียนและครูมีส่วนร่วมในการพัฒนาโครงงาน ตามคำกล่าวของ วาตานาเบ (1999) “เราต้องอนุญาตให้การมีส่วนร่วมเชิงลึกในกระบวนการเรียนรู้ผ่านนักเรียนละครูอย่างเข้มแข็ง การมีส่วนร่วมที่เปิดโอกาสให้เกิดการสร้างสรรค์อย่างไม่มีข้อจำกัด”
จะทำให้การการเรียนรู้แบบนักเรียนเป็นศูนย์กลางปฏิบัติได้จริงอย่างไร
อย่างที่กล่าวมาแล้วขั้นต้น ครูเป็นศูนย์กลางเป็นแกนสำคัญของระบบการศึกษาของเรามาช้านาน ดังนั้น ความตั้งใจในการทำให้การเรียนรู้แบบนักเรียนเป็นศูนย์กลางเกิดขึ้นได้จริงนั้น สิ่งแรกคือการต้องทำคือการแก้ไขทัศนคติการเรียนการสอน ทัศนคติเดิมๆ ที่เน้นให้ความรู้เป็นวัตถุที่สามารถส่งต่อกันได้ การสอนคือการนำเสนอความรู้ และการเรียนคือการซึบซับความรู้ ทั้งหมดนี้ต้องได้รับการปฏิรูป เราต้องนำทัศนคติและแนวคิดใหม่เข้าไป ทัศนคติที่ว่าความรู้เป็นสิ่งสามารถจัดโครงสร้างได้ การสอนคือการจัดบรรยากาศและสิ่งแวดล้อมที่เอื้อให้เกิดการเรียนรู้ และการเรียนรู้คือกระบวนการของการเรียนรู้ว่าจะเรียนอย่างไร  ตามรูปแบบการเรียนรู้ใหม่นี้ นักเรียนและครูต้องปรับบทบาทและหน้าที่ใหม่ เพื่อให้เข้ากับกระบวนการเรียนรู้ โครงร่างคร่าวๆ ของการปรับบทบาทดังกล่าวมีดังต่อไปนี้
บทบาทของครู
บทบทของครูในห้องเรียนแบบนักเรียนเป็นศูนย์กลางการเรียนรู้นั้นมีคุณค่าและต้องมีความพิถีพิถันมากกว่ารูปแบบเดิมที่ให้ครูเป็นศูนย์กลาง
ครูมีความจำเป็นต้องปฏิบัติดังนี้
  • เปลี่ยนจากผู้มีอำนาจและนำเสนอความรู้ทั้งหมด มาเป็นผู้ให้คำแนะนำ ชี้แนะ ผู้สร้างบรรยกาศที่นักเรียนจะสามารถมีแรงจูงใจ สนใจและตั้งข้อสงสัยเกี่ยวกับบทบาทของตัวเองในการเรียนรู้
  • สร้างบรรยากาศในการเรียนรู้ที่จะสร้างแรงจูงใจและท้าทายผู้เรียน กระตุ้นการคิดอย่างวิเคราะห์และสร้างกระบวนการเรียนรู้อย่างมีโครงสร้าง ยกตัวอย่างเช่น ครูสามารถเสริมสร้างทักษะการคิดของผู้เรียนผ่านการทำกิจกรรม เช่น การหาเหตุผล การตัดสินใจ การสะท้อนความคิด การพูดโน้มน้าวและการแก้ปัญหา กิจกรรมเหล่านี้กระตุ้นนักเรียนให้มีส่วนร่วมทั้งทางกายภาพและความเข้าใจในเนื้อหากิจกรรม โดยเฉพาะอย่างยิ่ง กิจกรรมที่กล่าวมาในช่วงท้ายๆ สามารถสร้างบรรยากาศที่เปิดโอกาสให้นักเรียนทบทวนปัญหาที่ซับซ้อน ให้ทรัพยากรจากหลากหลายแหล่ง พัฒนายุทธวิธีของตนเองในการเข้าใจปัญหา และสามารถนำเสนอและต่อรองเพื่อให้ได้ทางออกของปัญหาด้วยอาศัยความร่วมมือกันได้
  • ส่งเสริมการเรียนรู้แบบเกื้อกูลกัน การส่งเสริมและเกื้อกูลกันระหว่างนักเรียนเป็นองค์ประกอบสำคัญในรูปแบบการเรียนรู้แบบนักเรียนเป็นศูนย์กลาง ทำงานเป็นทีม ตามงานวิจัยของ โคโฮเนน การเรียนรู้อย่างเกื้อกูลกันจะสามารถสร้างการพึ่งพากันในเชิงบวกและความรับผิดชอบส่วนตัวแก่ผู้เรียนได้ เมื่อสมาชิกในทีมได้มีส่วนร่วมออกความเห็น ลงแรง และรับผิดชอบร่วมกันในการช่วยเหลือเพื่อนร่วมทีมในการเรียนรู้ การประสานงานกันยังสามารถสร้างเสริมให้ผู้เรียนเติบโต พัฒนาทักษะการเข้าสังคมและการเรียนรู้ และช่วยให้ผู้เรียนจิตนาการถึงโครงสร้างความรู้ของตนเอง โดยผ่านการแลกเปลี่ยนความคิดเห็น
  • ยอมรับความแตกต่างของแต่ละคน แต่ละคนมีรูปแบบการเรียนรู้ต่างกัน ครูควรจัดกิจกรรมที่หลากหลาย ให้ทางเลือกแก่ผู้เรียนในการเลือกและลงรายละเอีอดกิจกรรมของตัวเอง เป็นรายบุคคลไป
  • สนับสนุนความคิดที่ว่าแหล่งความรู้ไม่ได้ปิดกั้นอยู่เพียงในเขตกำแพงของห้องเรียนเท่านั้น ความรู้อาจอยู่ข้างนอก ยกตัวอย่างแหล่งความรู้นอกห้องเรียน อาจรวมถึง พ่อแม่ ผู้ใหญ่ในชุมชน บรรณารักษ์ พิพิธภัณฑ์ โบราณสถาน โบราณวัตถุ หรือแม้แต่อินเตอร์เน็ท
  • นำ “การประเมินผลตามจริง” มาใช้ (“Authentic Assessment,” 2001) หรือการประเมินผลที่ทบทวนความสามารถในการร่วมมือกันของนักเรียน มีเกณฑ์อ้างอิงได้ และขึ้นอยู่กับการปฏิบัติได้จริง มากกว่าการประเมินตามเกณฑ์มาตรฐาน
  • นำเอาประสบการณ์ที่แตกต่างของผู้เรียน จากหลากหลายสาขาและพื้นฐานมามีส่วรร่วมในการเรียนรู้ และสำคัญยื่งไปกว่านั้นคือการทำการเรียนการสอนเป็นทีม เพื่อให้ได้ผู้การเรียนแบบบูรณาการ ยกตัวอย่างเช่น ครูที่มีความชำนาญเฉพาะทางที่แตกต่างกัน เช่น การท่องเที่ยว ชีววิทยา สามารถทำงานร่วมกัน สามารถสร้างสาระวิชาใหม่ขึ้นเพื่อปูพื้นฐานเบื้องต้นเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม
  • สร้างความเชื่องโยงระหว่างความรู้และประสบการณ์เดิมที่นักเรียนมีอยู่กับการเรียนรู้ใหม่ ทั้งนี้ต้องตระหนักว่าประสบการณ์การเรียนรู้ที่เป็นประสบการณ์ส่วนบุคคลของนักเรียนแต่ละคนนั้นเรียนรู้ได้ง่ายแต่มักถูกหลงลืมง่ายเช่นกัน
บทบาทของนักเรียน
ในทิศทางใกล้เคียงกัน นักเรียนมีบทบาทสำคัญมากในกระบวนการเรียนรู้ นักเรียนไม่สามารถมองเห็นว่าตนเองเป็นแก้วที่ว่างเปล่ารอการเติมเต็ม ในทางกลับกัน นักเรียนต้องปฏิบัติดังนี้
  • เปลี่ยนจากความเชื่อเดิมที่ว่า “ความรู้ถูกส่งผ่านโดยครู” มาเป็นความเข้าใจใหม่คือ “ความรู้ที่สร้างได้” และตระหนักว่านักเรียนมีส่วนรับผิดชอบในการสร้างองค์ความรู้ของตัวเอง
  • เปลี่ยนจากการเป็นผู้รับสาระทางเดียว มาเป็นผู้มีส่วนร่วมในการเรียนรู้ที่กระตือรือร้น และใส่ใจในกิจกรรมและในแง่มุมต่างๆ ในการเรียนรู้ (ทั้งทางกายภาพและความเข้าใจ) ว่าทั้งหมดนั้นถือเป็นหน้าที่ของครูโดยทั่วไปของครูในกิจกรรมการสอนแบบเดิม
  • ตั้งเป้าหมายที่มีความหมายเมื่อจบกิจกรรมการเรียนรู้นี้ สร้างความรับผิดชอบให้ตัวเองมากขึ้นในการบรรลุเป้าหมายนั้น เคยประเมินพัฒนาการ เพื่อจะได้ปรับยุทธศาสตร์การเรียนรู้ที่ตนใช้เพื่อการบรรลุเป้าหมายอย่างมีประสิทธิภาพ
การใช้เทคโนโยลีเป็นองค์ประกอบสำคัญใรการเรียนรู้แบบนักเรียนเป็นศูนย์กลางหรือไม่
ไม่ต้องสงสัยเลยว่าในศตวรรษที่ 21 เทคโนโลยีมีความสำคัญเพิ่งขึ้นอย่างยิ่ง มีผลกับไม่เพียงแต่กับวิถีการใช้ชีวิตของเรา การดำเนินธุรกิจ การสื่อสารกับคนอื่น แต่ยังมีผลกับวิธีการเรียนการสอนของเรา จากเอกสารของ ทซัง โคส์มา กล่าวว่าโลกธุรกิจเรียกร้องให้โรงเรียนเตรียมนักเรียนนักศึกษาให้มีทักษะพร้อมทำงานเป็นทีม สามารถแก้ปัญหาได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถปฏิบัติงานและประมวลข้อมูล และสำคัญยิ่งกว่านั้นคือ สามารถใช้เทคโนโลโยลีได้อย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อการผลิตและการปฏิบัติอย่างเต็มกำลัง ยกตัวอย่างเช่น ความท้าทายและเป้าหมายการศึกษาของโรงเรียนควรมุ่งเน้นการสร้างบรรยากาศการเรียนรู้ที่นำเทคโนโลยีมาร่วมใช้ พร้อมทั้งปลูกฝังทักษะที่จำเป็นต่างๆ เพื่อช่วยนักเรียน
หากนำเทคโนโลยีมาใช้อย่างถูกต้อง เทคโนโลยีที่กล่าวนี้เช่น สื่อการฟัง สื่อภาพเคลื่อนไหว คอมพิวเตอร์อินเตอร์เน็ท จะช่วยเสริมบรรยากาศการเรียนโดยใช้เทคโนโลยีเหล่านี้อย่างมีประสิทธิภาพ ใช้ให้เป็นเช่นสื่อหรือเครื่องมือในการสร้างเสริมการเรียนของนักเรียน คุณประโยชน์ของเทคโนโลยีในการศึกษาได้ถูกกล่าวไว้คร่าวๆ โดยNCREL (2003)
  • เทคโนโลยีสามารถเปลี่ยนบริบทกิจกรรมการเรียนจากครูเป็นศูนย์กลางสู่นักเรียนเป็นศูนย์กลาง ให้นักเรียนควบคุมบริบทการเรียนของตัวเองมากขึ้น สร้างสรรค์บรรยากาศการเรียนอย่างเกื้อกูลกัน และมีการอำนวยความสะดวกให้เข้าถึงแหล่งข้อมูลและสื่อสารกับสังคมได้หลายวิธี โปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่สามารถโต้ตอบได้สามารถเป็นตัวนำที่ดีในรูปแบบการเรียนแบบผู้เรียนเป็นศูนย์กลางนี้
  • เทคโนโลยีสามารถสร้างกิจกรรมที่ทำให้ผู้เรียนได้ลองปฏิบัติจริง และเข้าใจอย่างแท้จริง โปรแกรมที่กระตุ้นให้นักเรียนฝึกทักษะการแก้ปัญหาทั้งทางกายภาพและจิตใจ กิจกรรมดังกล่าวสามารถสร้างความชำนาญในบริบทที่เสริมขึ้น ทำให้ทักษะพื้นฐานต่างๆ แข็งเกร่ง ช่วยให้นักเรียนพัฒนาไปในระดับที่สูงขึ้น เพิ่มจุดเชื่องต่อของโครงสร้างความรู้กับชีวิตนักเรียน สามารถแจ้งการประเมินผลแก่ผู้เรียน และที่ดีที่สุดคือสามารถสร้างแรงจูงใจนักเรียนได้ ยกตัวอย่างเช่น การใช้แบบเรียนอีเลคโทรนิค ที่เราเห็นกันบ่อยในรูปแบบของซีดี สามารถทำให้กิจกรรมการอ่านที่น่าเบื่อจากเอกสารสิ่งพิมพ์ให้เป็นกิจกรรมที่ตื่นเต้นและมีการโต้ตอบได้
  • โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เทคโนโลยีอย่างอินเตอร์เนท เป็นเครื่องมือที่เหมาะกับผู้เรียนอย่างยิ่ง อินเตอร์เนทสามารถสร้างบรรยากาศการเรียนรู้ให้แก่ผู้เรียนด้วยการฝึกปฏิบัติ ฟังการประเมินเพื่อปรับปรุงความเข้าใจ สร้างองค์ความรู้ใหม่ และสะท้อนความคิด(“Preparing Tomorrow’s Teachers,” 2003).
อะไรจะเป็นอุปสรรคบ้างในการเรียนการสอนแบบนักเรียนเป็นศูนย์กลาง
อุปสรรคที่อาจจะเกิดขึ้นในการนำรูปแบบการเรียนการสอนใหม่นี้ไปใช้ ได้แก่
  • ครูบางท่านปฏิเสธการปลี่ยนแปลง ด้วยความเชื่อเดิมๆ และการปฏิบัติที่คุ้นเคย การปฏิเสธนี้อาจเกิดขึ้นจากภาพลักษณ์ของ “ผู้รู้โดยชอบธรรม” หรือ “ผู้ประสิทธิ์ประศาสตร์ความรู้” ฝังอยู่ในหัว ครูเหล่านี้เห็นภาพด้วยเองว่าได้รับการมอบหมายให้สอน ชี้นำ อำนวยการและควบคุมนักเรียน ดังนั้นจึงกลัวที่จะทำสิ่งอื่นที่แตกต่างออกไป เห็นว่าการเปลี่ยนแปลงนี้ทำลายสถานะและอาชีพของตน
  • ครูจำนวนไม่น้อยไม่ยินดีที่จะปฏิบัติตามแนวทางใหม่ ด้วยเห็นว่าวิธีที่ตนเองใช้สอนอยู่นั้นดีอยู่แล้วดังนั้นจึงไม่เห็นความจำเป็นที่จะต้องเปลี่ยน เหตุที่ครูเหล่านี้ยึดมั่นว่าวิธีที่ทำงานอยู่ปัจจุบันดีอยู่แล้ว ครูเหล่านี้จึงไม่เปิดตัวเองสู่ความคิดและความเป็นไปได้ใหม่ๆ
  • ครูบางท่านเร่งรีบที่จะใช้รูปแบบการสอนใหม่นี้ โดยยังไม่เข้าใจถึงหลักการที่แท้จริงหรือยังไม่มีโอกาสได้คิดถ้วนถี่ หรือยังไม่ได้วางแผนการสอนไว้ระมัดระวัง ครูเหล่านี้มีความประสงค์ที่แรงกล้าที่จะเปลี่ยน หากแต่ไม่ได้พิจาณณาถึงประเด็นทางวัฒนธรรมหรือพิจารณาถึงสภาพชั้นเรียนของตน
  • ครูบางท่านยังขาดความเข้าใจและทักษะในการประสานเทคโนโลยีเข้ากับการสอน น่าเสียดายที่ครูจำนวนมากมีความรู้ด้านคอมพิวเตอร์ค่อนข้างน้อยและไม่ใส่ใจเรียนรู้เพิ่มเติม ในขณะที่บางท่านมีความต้องการหาความรู้ด้านคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีเพิ่งเติมแต่ขาดอุปกรณ์และการสนับสนุน ครูเหล่านี้เห็นคุณค่าและประโชยน์ของคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีแต่รู้สึกอึดอัดเพราะท่านเหล่านี้ไม่ได้ถูกอบรมหรือฝึกฝนให้ใช้เทคโนโลยีเหล่านี้ในชั้นเรียน
  • อาจเกิดกรณีที่ครูพยายามตอบสนองความต้องการของนักเรียนอย่างจริงจัง แต่โครงสร้างขององค์กรหรือนโยบายการสถานศึกษาอาจไม่เอื้ออำนวย ซึ่งเป็นการขัดขวางความพยายามที่จะให้นักเรียนเป็นศูนย์กลางมากขึ้น
  • นักเรียนบางกลุ่มต่อต้านการเรียนการสอนแบบใหม่ เพราะนักเรียนต้องการหลักฐานที่ชัดเจนว่าตนเองได้ถูกสอนบางอย่าง นักเรียนเหล่านี้เห็นเช่นดียวกับครูบางท่านที่ว่า ความรู้ถูกส่งผ่านกันมา และจะรอการป้อนความรู้จากครูเท่านั้น
มีตัววัดอะไรบ้างที่จะบ่งชี้ว่ารูปแบบการเรียนรู้แบบนักเรียนเป็นศูนย์กลางประสบความสำเร็จ
วัตถุเป้าหมายสูงสุดของการเรียนแบบนักเรียนเป็นศูนย์กลางคือการทำให้นักเรียนรู้จัดทิศทางของตนเอง และเป็นผู้เรียนรู้แบบบูรณาการ (เรียนรู้ได้ตลอดชีวิต) หมายถึงครูสามารถช่วยเหลือ ชี้แนวให้นักเรียนเปลี่ยนจากการเรียนแบบพึ่งพาผู้อื่นมาเป็นผู้ที่สามารถหาความรู้เองได้ ความสำเร็จในการนำแนวทางการเรียนรู้นี้ไปปฏิบัติสามารถดูได้จากขั้นตอนการพัฒนาของนักเรียน ตามลำดับดังต่อไปนี้(“Steps Toward,” 1996)
ขั้นที่ 1: ผู้เรียนที่ต้องพึ่งพา (ไม่สามารถหาความรู้ได้ด้วยตนเอง)
ในขั้นแรกนี้ ผู้เรียนจะพึ่งพาครู ครูผู้นำพาความรู้ ให้โครงสร้างและทิศทางว่าต้องทำอะไร อย่างไร และเมื่อไร สำหรับนักเรียน การเรียนคือครูเป็นศูนย์กลาง นักเรียนจะไม่ได้รับโอกาสในการเลือกหรือฝึกควบคุมปฏิบัติในกระบวนการการเรียน
ขั้นที่ 2:  ผู้เรียนที่มีความสนใจใส่ใจ
ในขั้นนี้ ผู้เรียนจะแสดงผลตอบสนองในเชิงบวก ต่อแรงกระตุ้นหรือทิศทางที่ครูกำหนด อย่างไรก็ตามแทนทีการให้ทิศทางแบบกำหนดตายตัว ครูสามารถเชื่องต่อความสนใจของนักเรียนกับบริบทการเรียนได้อย่างประสบความสำเร็จ มีการตอบรับอย่างดี และสร้างบรรยากาศที่ดีในห้องเรียนหรือในชุมชนการเรียนรู้ ทั้งหมดนี้เป็นการตอกย้ำว่านักเรียนสนใจและมีความกระตือรือร้น
ขั้นที่ 3: ผู้เรียนที่มีส่วนร่วม
ในขั้นที่ 3 นี้ นักเรียนได้พัฒนาไปมากแล้ว นักเรียนจะเห็นว่าตนเองเป็นผู้มีส่วนร่วมในการเรียนรู้ของตนเองมากขึ้นและมากขึ้น เห็นคูรค่าของประสบการณ์ชีวติที่ตนเองประสบมา และพร้อมกันนั้นจะเห็นคุณค่าของการเรียนรู้จากประสบการณ์ของผู้อื่น ผู้เรียนจะตอบสนองอย่างดีต่อการสอนแบบเกื้อกูลกัน
ขั้นที่ 4: ผู้เรียนที่สามารถกำหนดทิศทางตัวเองได้
ในขั้นนี้ ผู้เรียนสามารถกำหนดเป้าหมายของตัวเอง วางแผน และตั้งมาตรฐานได้ ผู้เรียนจะรับรู้ถึงความสามารถในการเรียนรู้อย่างอิสระ และรับผิดชอบต่อการเรียนของตน ครูไม่ต้องคอยบรรยาย แต่เป็นผู้ให้คำปรึกษา ตรวจสอบพัฒนาการ ให้คำแนะนำในกระบวนการเรียนรู้
การเรียนแบบนักเรียนเป็นศูนย์กลางนี้เป็นรูปแบบที่นักเรียนเป็นจุดสนใจของกระบวนการเรียน อย่างไรก็ตามในการเรียนรู้รูปแบบนี้ไม่ได้หมายความว่าครูจะต้องหลบฉาก ปล่อยให้นักเรียนดำเนินการเรียนรู้ตามลำพัง แต่หมายถึงเมื่อครูวางแผนการสอน ครูต้องพิจารณาถึงทัศนคติและความต้องการของนักเรียน และทำให้ทิศทางของกระบวนการการเรียนเป็นประโยชน์แก่นักเรียน และยังหมายถึงครูต้องจัดการการสอนในวิธีที่ทำให้นักเรียนรู้สึกเป็นส่วนหนึ่งของการเรียน เห็นคุณค่าต่อกระบวนการการเรียน และสามารถควบคุมการเรียนรู้ของตัวเองได้ การทำให้การเรียนรู้แบบนักเรียนเป็นศูนย์กลางเกิดขึ้นและใช้ได้จริงเป็นความท้าทายอย่างยิ่งของศตวรรษที่ 21 ขั้นตอนการประสานรูปแบบนี้เข้ากับระบบการศึกษาของเราต้องอาศัยการทำงานหนักและความพยายามอย่างยิ่ง จากครูและนักเรียนเช่นกัน
กุญแจสำคัญในการทำให้รูปแบบกาเรียนรู้นี้เกิดขึ้นจริงได้ ในส่วนของครู การศึกษาและใส่ใจกับหลักการของรูปแบบ และเห็นคุณค่าของรูปแบบนี้อย่างแท้จริงนั้นสำคัญยิ่ง จากการเข้าใจที่ถูกต้อง ครูจะสามารถเปลี่ยนความเชื่อและวิธีปฏิบัติเดิมๆ ครูจะสามารถตั้งเป้าหมายและมาตรฐานใหม่ ยังจะสามารถวางแผนการสอน โดยคำนึงถึงอะไรคือสิ่งที่ดีที่สุดสำหรับนักเรียน ในการเปลี่ยนแปลงนี้ครูยังสามารถพัฒนาตนเองและพัฒนาวิชาชีพตนเองด้วย เช่นเดียวกันในส่วนของผู้เรียน นักเรียนจะได้รับคำชี้แนะจากครู ต้องปรับตัวให้เข้ากับรูปแบบและกระบวนการเรียนรู้ใหม่นี้ นักเรียนต้องตระหนักว่าหากยังต้องการยืนอยู่ในโลกที่เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว และอยู่บนโลกแห่งตลาดการแข่งขันที่มีความต้องการแรงงงานที่ได้รับการศึกษาที่มีทักษะการคิดวิเคราะห์ การแก้ปัญหา การตัดสินใจได้ นักเรียนต้องเปลี่ยนวิธีปฏิบัติที่ทำมาทั้งชีวิตที่เป็นผู้รับมาตลอด ให้เป็นผู้กระตือรือร้นในการเรียน นักเรียนต้องติดอาวุธทักษะนี้ให้ตนเอง มีบทบาทควบคุมการเรียนรู้ เป็นผู้เรียนรู้ที่เป็นอิสระ (สามารถเรียนรู้ได้ด้วยตนเอง) และท้ายที่สุด ความหวังที่จะเห็นครูและนักเรียนสอนและเรียนร่วมกันในห้องเรียนจะนำไปสู่บรรยากาศการเรียนรู้ที่มีประสิทธิผลและมีค่ายิ่ง
เอกสารอ้างอิง
Authentic assessment. (2001). Retrieved April 19, 2003, from
Bansberg, B. (2003). Applying the learner-centered principles to the
special case of literacy. Theory into Practice, 42 (2), 142-147.
Bush, T., & Saye, J. (2000). Implementation and evaluation of a
student-centered learning unit: A case study. Educational
Technology, Research and Development, 48 (3), 79-91.
Fink, L. D. (2002). Active learning. Retrieved April 5, 2003, from
Glassglow, N. (1997). New curriculum for new times: A guide to
student-centered, problem-based learning. Thousand Oaks, CA:
Corwin.
Kohonen, V. (1992). Experiential language learning: Second language
learning as cooperative learner education. In D. Nunan (Ed.),
Collaborative language learning and teaching (pp. 17-32).
Cambridge: Cambridge University Press.
Mehan, H. (1979). Learning lessons. Cambridge, MA: Harvard
University Press.
North Central Regional Educational Laboratory (NCREL). (2003).
Focus on student-centered learning/Support professional
development. Retrieved March 27, 2003, from
Preparing tomorrow’s teachers to use technology. (2003). Retrieved

 

การเรียนแบบนักเรียนเป็นศูนย์กลาง : ทำความเข้าใจตำนานอย่างลึกซื้ง
อาจารย์ชุติมา ธรรมรักษา
ครูเป็นศูนย์กลาง หรือ ครูเป็นหลักโดยตรงเป็นศูนย์กลางของการศึกษาประเทศไทยมาช้านาน แนวปฏิบัติดังกล่าวได้วางรากฐานการเรียนแบบตามบทเรียน หรือ การเรียนแบบจดจำ มากกว่าเรียนเพื่อพัฒนาทักษะการคิดของผู้เรียน ข้อบกพร่องของระบบดังกล่าวเห็นได้จากความไม่กระตือรือร้นของผู้เรียนที่ขาดทักษะการคิดเชิงวิเคราะห์และไม่มีความคิดสร้างสรรค์  จากการตระหนักถึงข้อบกพร่องนี้ กระทรวงศึกษาธิการได้ริเริ่มการปฏิรูประบบการศึกษาครั้งสำคัญขึ้น จากรูปแบบที่ครูเป็นศูนย์กลางแบบดั้งเดิมสู่แนวทางการให้นักเรียนเป็นศูนย์กลาง ด้วยมุ่งหวังจะผลิดผู้เรียนที่มีศักยภาพ มีสมรรถณะ มีความเป็นตัวของตัวเอง และสามารถเรียนรู้อย่างยั่งยืนได้ และจะสามารถยืนอยู่บนโลกแห่งการแข่งขันนี้ได้
อย่างไรก็ตาม การเปลี่ยนแปลงต่างๆ ที่เป็นผลมาจากการนำนโยบาย นักเรียนเป็นศูนย์กลางมาปฏิบัติใช้ ได้ทำให้คุณครูจำนวนไม่น้อยสับสบและงุนงงกับบทบาทและแนวทางการสอนของตนเอง บทความที่จะนำเสนอต่อไปนี้ต้องการที่จะสร้างความกระจ่าง ชี้แจงข้อสงสัยดังกล่าวโดยการให้นิยามและคำจำกัดความของแนวคิดต่างๆ และยังจะนำเสนอตัวอย่างจากแง่มุมต่างๆ ที่ตรงประเด็นกับแต่ละแนวคิดด้วย
บทนำ
ประเด็นเรื่อง นักเรียนเป็นศูนย์กลาง หรือผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง ได้กลายเป็นที่สนใจของนักการศึกษา โรงเรียน วิทยาลัยครู ในช่วงหลายปีที่ผ่านมา ในความเป็นจริงแล้วแนวคิด “นักเรียนเป็นศูนย์กลางการเรียนรู้” ไม่ได้รับการกล่าวถึงไม่มาก กระทั้งในพระราชบัญญัติการศึกษา ปี 2542 นักเรียนเป็นศูนย์กลางการเรียนรู้กลายเป็นประเด็นหลักในการปฏิรูปการศึกษา แนวคิดใหม่นี้ ได้ถูกคาดหวังว่า จะเป็นตัวช่วยเพิ่มประสิทธิภาพให้แก่ประชากรไทย ให้อยู่รอดได้ในสังคมที่มีการแข่งขันเพิ่มขึ้น ในระบบเศรษฐกิจที่ความรู้เป็นตัวขับเคลื่อน และในโลกของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
แม้จะได้รับความสนใจอย่างมาก อย่างไรก็ตาม สิ่งที่ตามมาคือความสับสนและความไม่มั่นใจในกระบวนทัศน์การเรียนการสอนภายในแนวคิดและแนวทางใหม่นี้ คุณครูบางท่านมองแนวคิดใหม่นี้ว่าเป็นการคุกคามระบบ ครูเป็นศูนย์กลาง หรือ ครูเป็นผู้นำ ที่มีมายาวนาน ในขณะเดียวกันบางท่านเกรงว่าแนวคิดใหม่นี้จะลดบทบาทที่สำคัญของครูในชั้นเรียน และเช่นกัน นักเรียนเอง บางคนก็ไม่สบอารมณ์กับแนวคิดใหม่นี้ อย่างที่เราได้เห็นตามรายงานข่าวในหน้าหนังสือพิมพ์ล่าสุดนี้ ที่ว่า “แนวคิด นักเรียนเป็นศูนย์การการเรียนรู้ เปรียบได้กับ “ควาย” เป็นศูนย์กลางการเรียนรู้”  ตามจริงแล้ว คำว่า “ควาย” สำหรับคนไทยเราหมายถึง วัวตัวใหญ่ที่ใช้ในการลากไถช่วยเหลือชาวนา หากเมื่อใช้กับคนหรือกับแนวคิดนั้น มีความหมายเป็นนัยยะ เปรียบเทียบคนหรือแนวคิดนั้นว่า โง่เขลา
การกล่าวว่าระบบ นักเรียนเป็นศูนย์กลาง ก็คือ ระบบ “ควาย” เป็นศูนย์กลางนั้น เป็นการบอกให้ทราบว่าระบบนี้เป็นระบบที่ไม่เป็นประโยชน์ เป็นเรื่องน่าผิดหวัง และมันจะไม่ช่วยนักเรียนให้ฉลาดขึ้น แต่กลับจะระงับการพัฒนาของเด็กๆ คำวิพากย์วิจารณ์นี้แสดงให้เห็นชัดเจนว่ารูปแบบการเรียนการสอนนี้ล้มเหลว ไม่ใช่ด้วยตัวรูปแบบเอง แต่เป็นผลมาจากการตีความที่ผิดๆ การนำไปปฏิบัติที่ผิดๆ และการต่อต้านรูปแบบการเรียนการสอนใหม่
แม้จะมีการอธิบายเชิงลายลักษณ์อักษรเรื่องนักเรียนเป็นศูนย์กลางการเรียนรู้ แต่อาจกล่าวได้ว่าครูส่วนใหญ่ยังไม่เชื่อว่าจะเป็นวิธีในการเสริมสร้างคุณภาพการเรียนรู้ของนักเรียน ที่แย่ไปกว่านั้น ครูไม่มั่นใจถึงขั้นตอนการปฏิบัติ หรืออะไรที่ควรปฏิบัติเพื่อให้แนวคิดนี้เกิดขึ้นและปฏิบัติได้จริง คำถามมากมายเรื่องความเป็นไปและการบังคับใช้ของการสอนแนวใหม่นี้ได้ถูกหยิบยกขึ้นมาอย่างกว้างขวางในสังคมของคุณครู ดังนั้น เอกสารฉบับนี้จึงพยายามให้ความกระจ่าง วิเคราะห์หลักการและแง่มุมต่างๆ ของแนวคิด นักเรียนเป็นศูนย์กลาง ผ่านคำถามที่มักถูกเอ่ยถึงหรือถามถึงมากที่สุด ได้แก่
อะไรคือการเรียนรู้ แบบนักเรียนเป็นศูนย์กลาง
คำตอบคือเพียงแค่เอานักเรียนมาเป็นศูนย์กลางในการเรียนรู้ หรือรูปแบบที่นักเรียนถูกวางไว้เป็นแกนหลักในกระบวนการการเรียนรู้ เริ่มกันตั้งแต่ ความต้องการของนักเรียน ความเห็นของนักเรียน ภูมิหลังของนักเรียน และจุดประสงค์ของนักเรียน สิ่งเหล่านี้ต้องได้รับความสนใจและมีส่วนร่วมในบริบทการเรียนรู้ ภายใต้รูปแบบนี้ ครูจะเป็นผู้ชี้แนะโดยดูว่าอะไรเหมาะสมกับนักเรียนที่สุด เมื่อช่วยเหลือให้นักเรียนเรียนและตัดสินใจ
หลักการของ นักเรียนเป็นศูนย์การการเรียนรู้มีที่มาจากหลากหลายรูปแบบ เริ่มต้นพัฒนาการมาจากทฤษฏีการเรียนรู้สามารถสร้างได้ ที่เชื่อว่าเราสามารถจัดโครงสร้างให้กับความรู้ได้อย่างมีเอกภาพและมีเอกลักษณ์ได้ในหลากหลายทาง (Vygotsky, 1978, cited in Bush & Saye, 2000) และยังพัฒนาการมาจากการเรียนรู้จากประสบการณ์ กล่าวคือการสอนคือการส่งผ่าน สืบต่อของความรู้ที่มีอยู่แล้ว (Kohonen, 1992) และการเรียนรู้ และมาจากรูปแบบการเรียนรู้อย่างกระตือรือร้น ที่เสนอให้กิจกรรมการเรียนรู้ทุกกิจกรรมต้องมีการปฏิบัติเพื่อให้ได้ประสบการณ์ตรง หรือต้องมีการโต้ตอบ อย่างเป็นการโต้ตอบกับตัวเองหรือผู้อื่น (Fink, 2002).SLLT 2003 page 61
อะไรคือหน้าตาและลักษณะของการเรียนรู้แบบนักเรียนเป็นศูนย์กลาง
จากพื้นฐานของรูปแบบต่างๆ ที่การเรียนรู้แบบนักเรียนเป็นศูนย์กลางพัฒนามาจาก ได้ก่อให้เกิดลักษณะดังต่อไปนี้
–       มุ่งเน้นไปที่ให้มีการเรียนรู้อย่างมีการโต้ตอบ ใช้แนวคิดต่างๆ ร่วมกันเพื่อเชื่องต่อการเรียนรู้ใหม่กับการเรียนรู้เดิม กระตุ้นความสนใจและสิ่งที่เชื่องโยงกัน เปิดโอกาสให้ผู้เรียนหรือนักเรียนมีทางเลือกและควบคุม ปรับเปลี่ยน เพื่อความต้องการในการพัฒนาที่แตกต่างกันของแต่ละคน พร้อมกันนั้นยังให้การดูแลและสร้างบรรยากาศการที่ส่งเสริมการเรียนรู้
–       จัดโครงสร้างความรู้โดยผ่านการเรียนรู้ที่แท้จริง คือการเรียนในบรรยากาศจริงหรือในบริบทที่ความรู้เกิดขึ้นหรือถูกสร้างขึ้น หรือจะกล่าวได้อีกอย่างว่า เชื่อมต่อประสบการณ์การเรียนรู้ในโรงเรียนกับสถานการณ์ของโรลกความจริงนั้นเอง
–       นักเรียนมีส่วนร่วมในขั้นตอนการเรียนรู้ มากกว่าการเป็นผู้รับความรู้ นักเรียนจะได้รับโอกาสในการมีส่วนร่วมและเพิ่มความรู้สึกรับผิดชอบเพื่อให้ทราบถึงทิศทางการเรียนรู้ของตัวเองและความต้องการในการเรียนรู้ของตนเอง รู้แหล่งของการเรียนรู้ และจัดโครงสร้างความรู้ตามความต้องการของตัวเอง
–       จัดกิจกรรมในชั้นเรียนและโครงงานที่แตกต่าง เพื่อให้ผู้เรียนหรือนักเรียนได้มีทางเลือกหลากหลายในการคัดสรรตามความต้องการของนักเรียนแต่ละคน เป็นผลมาจากการตระหนักว่านักเรียนแต่ละคนมีศักยภาพต่างกัน มีความชื่นชอบในรูปแบบการเรียนรู้และมียุทธวิธีในการเรียนรู้ที่ต่างกัน
–       บรรยากาศในการเรียนรู้ กล่าวคือการเรียนรู้ควรเกิดขึ้นได้ทุกที่ และทุกเวลา ทั้งในรูปแบบต่างและในความหมายต่างๆ ที่สามารถสร้างสรรค์ได้ บรรยากาศการเรียนรู้เช่นนี้จะช่งยสร้างเสริมให้นักเรียนมีส่วนร่วมและมีความรับผิดชอบในการศึกษาของตน ดังนั้นนักเรียนได้ถูกเตรียมตัวในบรรยากาศที่แท้จริงด้วยกิจกรรมนอกห้องเรียนที่จะเพิ่มการเรียนรู้ของนักเรียนในมิติต่างๆ
–       นักเรียนถูกกระตุ้นจากภายใน (มีแรงจูงใจของตัวเอง) มากกว่าถูกกระตุ้นจากภายนอก (แรงจูงใจจากภายนอก) หรือกล่าวง่ายๆ ว่านักเรียนมีแรงจูงใจจากภายในไม่ใช่จากภายนอก ยกตัวอย่างเช่น นักเรียนพิมพ์รายงานส่งเพราะนักเรียนต้องการสร้างความภูมิใจให้งานของตัวเองไม่ใช่ต้องการให้คนอื่นชื่นชมวิธีการนำเสนอนี้
ทำไมต้องเปลี่ยนมาเป็นรูปแบบการเรียนรู้ใหม่นี้
การเรียนรู้แบบดั้งเดิมมีปัญหาอะไรหรือ
เพื่อเป็นการตอบคำถามสองข้อนี้ เราต้องมองย้อนกลับไปถึงการวิเคราะห์ธรรมชาติของการเรียนรู้แบบดั้งเดิมที่ครูเป็นศูนย์กลางก่อน และดูถึงผลที่ได้รับจากการเรียนรู้แบบดั้งเดิมต่อผู้เรียน เพื่อให้เข้าใจว่าทำไมแนวทางการเรียนรู้แบบนักเรียนเป็นศูนย์กลางจึงควรได้รับการสนับสนุนให้เป็นทางเลือกใหม่
แนวคิด ครูเป็นศูนย์กลาง ได้รับอิทธิพลมาจากแนวความคิดที่ว่าองค์ความรู้นั้นคือบางอย่างที่สามารถส่งต่อจากครูสู่นักเรียนได้ เสมือนการเรียนรู้แบบสองมิติ โดยโครงสร้างว่าครูสู่นักเรียน  ในห้องเรียนครูเสมือนเป็นบุคคลที่ได้รับมอบหมายให้มีหน้าที่พัฒนาความรู้และทักษะ ประเมินและแก้ไขการปฏิบัติของผู้เรียนตามกฏเกณฑ์ที่ครูท่านนั้นได้ตั้งขึ้นไว้ นักเรียนคือผู้รับความรู้และคาดหวังว่าครูจะควบคุมจัดการเบ็ดเสร็จในกระบวนการเรียนรู้นั้น ดังนั้น กระบวนการเรียนรู้ที่ปฏิบัติในห้องเรียนแบบไม่มีการโต้ตอบที่ใช้กันทั่วไปนี้มีการประยุกต์มาจาก IRE คือ ครูริเริ่ม นักเรียนตอบสนอง และครูประเมินผล (Mehan,1979)
ในรูปแบบ IRE ครูผู้สอนจะอยู่ด้านหน้าของชั้นเรียนเสมอ ให้ความรู้ ถามนักเรียนเพื่อให้นักเรียนแสดงว่าเข้าใจความรู้ที่เพิ่งสอนไป จากนั้นประเมินผลการปฏิบัติหรือคำตอบของนักเรียน การสอนแบบครูเป็นศูนย์กลางนี้ยังรากลึกในสังคมไทย สังคมที่ระบบ “ผู้ใหญ่ ผู้น้อย” เป็นคุณค่าสำคัญของสังคม เนื่องจากคนไทยให้ความสำคัญกับการที่ผู้น้อยควรเคารพผู้ใหญ่ ตามลำดับ และเกี่ยวข้องกับเรื่องอำนาจสิทธิ์ขาด (Williams, 1980)  ดังนั้นครู ผู้ที่มีสถานะสูงกว่านักเรียน ผู้ที่ถือได้ว่าเป็นพ่อแม่คนที่สอง หน้าที่ของครูมิใช่เพียงสั่งสอนความรู้ สั่งสอนคุณธรรม และกล่อมเกลานักเรียนให้เป็นพลเมืองที่ดีของชาติด้วย ด้วยภาพลักษณ์ที่คนทั่วไปมองครูว่าเป็น “ผู้รู้โดยชอบธรรม” ผู้ประสิทธิ์ประสาสตร์ความรู้เช่นนี้แล้ว ไม่ต้องกล่าวเลยว่าในกระบวนการเรียนรู้ ครูจึงผู้วางไว้เป็นศูนย์กลาง ไม่ใช่ผู้เรียนหรือนักเรียนเป็นศูนย์กลาง
ด้วยปัจจัยทั้งสองที่กล่าวมาแล้วคือระบบ ผู้ใหญ่ ผู้น้อยของสังคม และรูปแบบการส่งทอดทางการศึกษานี้ เราก็จะเข้าใจได้ชัดเจนขึ้นว่าทำไมครูไทยจึงจำเป็นต้องคงภาพลักษณ์ความเป็น “ผู้รู้โดยชอบธรรม” ด้วยการยึดรูปแบบการเรียนการสอน แบบครูยืนหน้าห้อง และการสอนแบบ IRE ไว้
อย่างไรก็ตาม โชคร้ายมากที่ระบบการสอนที่ครูไทยนิยมปฏิบัตินี้มีข้อเสียอย่างมาก รูปแบบนี้ได้ส่งให้ผู้เรียนเป็นผู้รับความรู้โดยไม่โต้ตอบ เป็นผู้ฟัง จำ และซึบซับข้อมูลที่ส่งมาโดยผู้รู้ นักเรียนไม่ใช่ผู้ริเริ่ม หรือผู้มีข้อสงสัยต่อสิ่งที่เรียนรู้
นักเรียนไม่ได้ถูกฝึกให้ใช้ความคิดอย่างวิเคราะห์ วิจารณ์หรือสะท้อนเปรียบเทียบ ซ้ำร้ายไปกว่านั้น ระบบการศึกษานี้ไม่ได้เตรียมนักเรียนให้เป็นผู้เรียนรู้อย่างอิสระ ที่ตระหนักว่าความรู้มีโครงสร้งและสามารถเรียนได้หลายรูปแบบ นักเรียนไม่ตระหนักเห็นคุณค่าของการเรียนรู้ ไม่ตระหนักว่าการเรียนรู้เป็นกระบวนการต่อเนื่องตลอดชีวิต ทั้งยังไม่เข้าใจว่าไม่มีคนอื่นที่มีส่วนรับผิดชอบการเรียนรู้ของตนเองนอกจากตัวผู้เรียนเอง
เพื่อให้เท่าทันโลกที่เปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็วของข้อมูลข่าวสารและเศรษฐกิจที่ต้องการทักษะการคิดวิเคราะห์ เราต้องเสริมสร้างนักเรียนของเรา เราต้องสร้างให้นักเรียนของเราคิดอย่างวิเคราะห์และคิดอย่างอิสระ และรู้รับผิดชอบ และมีส่วนร่วมกับการเรียนรู้ของเขา นักเรียนต้องสามารถกำหนดทิศทางของตัวเองและเป็นผู้มีส่วนร่วมที่กระตือรือร้นในบริบทการเรียนรู้เชิงวิชาการนี้ ด้วยความสำคัญเหล่านี้ ถึงเวลาแล้วที่เราต้องพัฒนาการให้ความรู้จากแบบสองมิติ ครูสู่นักเรียน ไปเป็นโครงสร้างแบบนักเรียนเป็นศูนย์กลางการเรียนรู้เชิงสามมิติ ที่ที่นักเรียนและครูมีส่วนร่วมในการพัฒนาโครงงาน ตามคำกล่าวของ วาตานาเบ (1999) “เราต้องอนุญาตให้การมีส่วนร่วมเชิงลึกในกระบวนการเรียนรู้ผ่านนักเรียนละครูอย่างเข้มแข็ง การมีส่วนร่วมที่เปิดโอกาสให้เกิดการสร้างสรรค์อย่างไม่มีข้อจำกัด”
จะทำให้การการเรียนรู้แบบนักเรียนเป็นศูนย์กลางปฏิบัติได้จริงอย่างไร
อย่างที่กล่าวมาแล้วขั้นต้น ครูเป็นศูนย์กลางเป็นแกนสำคัญของระบบการศึกษาของเรามาช้านาน ดังนั้น ความตั้งใจในการทำให้การเรียนรู้แบบนักเรียนเป็นศูนย์กลางเกิดขึ้นได้จริงนั้น สิ่งแรกคือการต้องทำคือการแก้ไขทัศนคติการเรียนการสอน ทัศนคติเดิมๆ ที่เน้นให้ความรู้เป็นวัตถุที่สามารถส่งต่อกันได้ การสอนคือการนำเสนอความรู้ และการเรียนคือการซึบซับความรู้ ทั้งหมดนี้ต้องได้รับการปฏิรูป เราต้องนำทัศนคติและแนวคิดใหม่เข้าไป ทัศนคติที่ว่าความรู้เป็นสิ่งสามารถจัดโครงสร้างได้ การสอนคือการจัดบรรยากาศและสิ่งแวดล้อมที่เอื้อให้เกิดการเรียนรู้ และการเรียนรู้คือกระบวนการของการเรียนรู้ว่าจะเรียนอย่างไร  ตามรูปแบบการเรียนรู้ใหม่นี้ นักเรียนและครูต้องปรับบทบาทและหน้าที่ใหม่ เพื่อให้เข้ากับกระบวนการเรียนรู้ โครงร่างคร่าวๆ ของการปรับบทบาทดังกล่าวมีดังต่อไปนี้
บทบาทของครู
บทบทของครูในห้องเรียนแบบนักเรียนเป็นศูนย์กลางการเรียนรู้นั้นมีคุณค่าและต้องมีความพิถีพิถันมากกว่ารูปแบบเดิมที่ให้ครูเป็นศูนย์กลาง
ครูมีความจำเป็นต้องปฏิบัติดังนี้
  • เปลี่ยนจากผู้มีอำนาจและนำเสนอความรู้ทั้งหมด มาเป็นผู้ให้คำแนะนำ ชี้แนะ ผู้สร้างบรรยกาศที่นักเรียนจะสามารถมีแรงจูงใจ สนใจและตั้งข้อสงสัยเกี่ยวกับบทบาทของตัวเองในการเรียนรู้
  • สร้างบรรยากาศในการเรียนรู้ที่จะสร้างแรงจูงใจและท้าทายผู้เรียน กระตุ้นการคิดอย่างวิเคราะห์และสร้างกระบวนการเรียนรู้อย่างมีโครงสร้าง ยกตัวอย่างเช่น ครูสามารถเสริมสร้างทักษะการคิดของผู้เรียนผ่านการทำกิจกรรม เช่น การหาเหตุผล การตัดสินใจ การสะท้อนความคิด การพูดโน้มน้าวและการแก้ปัญหา กิจกรรมเหล่านี้กระตุ้นนักเรียนให้มีส่วนร่วมทั้งทางกายภาพและความเข้าใจในเนื้อหากิจกรรม โดยเฉพาะอย่างยิ่ง กิจกรรมที่กล่าวมาในช่วงท้ายๆ สามารถสร้างบรรยากาศที่เปิดโอกาสให้นักเรียนทบทวนปัญหาที่ซับซ้อน ให้ทรัพยากรจากหลากหลายแหล่ง พัฒนายุทธวิธีของตนเองในการเข้าใจปัญหา และสามารถนำเสนอและต่อรองเพื่อให้ได้ทางออกของปัญหาด้วยอาศัยความร่วมมือกันได้
  • ส่งเสริมการเรียนรู้แบบเกื้อกูลกัน การส่งเสริมและเกื้อกูลกันระหว่างนักเรียนเป็นองค์ประกอบสำคัญในรูปแบบการเรียนรู้แบบนักเรียนเป็นศูนย์กลาง ทำงานเป็นทีม ตามงานวิจัยของ โคโฮเนน การเรียนรู้อย่างเกื้อกูลกันจะสามารถสร้างการพึ่งพากันในเชิงบวกและความรับผิดชอบส่วนตัวแก่ผู้เรียนได้ เมื่อสมาชิกในทีมได้มีส่วนร่วมออกความเห็น ลงแรง และรับผิดชอบร่วมกันในการช่วยเหลือเพื่อนร่วมทีมในการเรียนรู้ การประสานงานกันยังสามารถสร้างเสริมให้ผู้เรียนเติบโต พัฒนาทักษะการเข้าสังคมและการเรียนรู้ และช่วยให้ผู้เรียนจิตนาการถึงโครงสร้างความรู้ของตนเอง โดยผ่านการแลกเปลี่ยนความคิดเห็น
  • ยอมรับความแตกต่างของแต่ละคน แต่ละคนมีรูปแบบการเรียนรู้ต่างกัน ครูควรจัดกิจกรรมที่หลากหลาย ให้ทางเลือกแก่ผู้เรียนในการเลือกและลงรายละเอีอดกิจกรรมของตัวเอง เป็นรายบุคคลไป
  • สนับสนุนความคิดที่ว่าแหล่งความรู้ไม่ได้ปิดกั้นอยู่เพียงในเขตกำแพงของห้องเรียนเท่านั้น ความรู้อาจอยู่ข้างนอก ยกตัวอย่างแหล่งความรู้นอกห้องเรียน อาจรวมถึง พ่อแม่ ผู้ใหญ่ในชุมชน บรรณารักษ์ พิพิธภัณฑ์ โบราณสถาน โบราณวัตถุ หรือแม้แต่อินเตอร์เน็ท
  • นำ “การประเมินผลตามจริง” มาใช้ (“Authentic Assessment,” 2001) หรือการประเมินผลที่ทบทวนความสามารถในการร่วมมือกันของนักเรียน มีเกณฑ์อ้างอิงได้ และขึ้นอยู่กับการปฏิบัติได้จริง มากกว่าการประเมินตามเกณฑ์มาตรฐาน
  • นำเอาประสบการณ์ที่แตกต่างของผู้เรียน จากหลากหลายสาขาและพื้นฐานมามีส่วรร่วมในการเรียนรู้ และสำคัญยื่งไปกว่านั้นคือการทำการเรียนการสอนเป็นทีม เพื่อให้ได้ผู้การเรียนแบบบูรณาการ ยกตัวอย่างเช่น ครูที่มีความชำนาญเฉพาะทางที่แตกต่างกัน เช่น การท่องเที่ยว ชีววิทยา สามารถทำงานร่วมกัน สามารถสร้างสาระวิชาใหม่ขึ้นเพื่อปูพื้นฐานเบื้องต้นเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม
  • สร้างความเชื่องโยงระหว่างความรู้และประสบการณ์เดิมที่นักเรียนมีอยู่กับการเรียนรู้ใหม่ ทั้งนี้ต้องตระหนักว่าประสบการณ์การเรียนรู้ที่เป็นประสบการณ์ส่วนบุคคลของนักเรียนแต่ละคนนั้นเรียนรู้ได้ง่ายแต่มักถูกหลงลืมง่ายเช่นกัน
บทบาทของนักเรียน
ในทิศทางใกล้เคียงกัน นักเรียนมีบทบาทสำคัญมากในกระบวนการเรียนรู้ นักเรียนไม่สามารถมองเห็นว่าตนเองเป็นแก้วที่ว่างเปล่ารอการเติมเต็ม ในทางกลับกัน นักเรียนต้องปฏิบัติดังนี้
  • เปลี่ยนจากความเชื่อเดิมที่ว่า “ความรู้ถูกส่งผ่านโดยครู” มาเป็นความเข้าใจใหม่คือ “ความรู้ที่สร้างได้” และตระหนักว่านักเรียนมีส่วนรับผิดชอบในการสร้างองค์ความรู้ของตัวเอง
  • เปลี่ยนจากการเป็นผู้รับสาระทางเดียว มาเป็นผู้มีส่วนร่วมในการเรียนรู้ที่กระตือรือร้น และใส่ใจในกิจกรรมและในแง่มุมต่างๆ ในการเรียนรู้ (ทั้งทางกายภาพและความเข้าใจ) ว่าทั้งหมดนั้นถือเป็นหน้าที่ของครูโดยทั่วไปของครูในกิจกรรมการสอนแบบเดิม
  • ตั้งเป้าหมายที่มีความหมายเมื่อจบกิจกรรมการเรียนรู้นี้ สร้างความรับผิดชอบให้ตัวเองมากขึ้นในการบรรลุเป้าหมายนั้น เคยประเมินพัฒนาการ เพื่อจะได้ปรับยุทธศาสตร์การเรียนรู้ที่ตนใช้เพื่อการบรรลุเป้าหมายอย่างมีประสิทธิภาพ
การใช้เทคโนโยลีเป็นองค์ประกอบสำคัญใรการเรียนรู้แบบนักเรียนเป็นศูนย์กลางหรือไม่
ไม่ต้องสงสัยเลยว่าในศตวรรษที่ 21 เทคโนโลยีมีความสำคัญเพิ่งขึ้นอย่างยิ่ง มีผลกับไม่เพียงแต่กับวิถีการใช้ชีวิตของเรา การดำเนินธุรกิจ การสื่อสารกับคนอื่น แต่ยังมีผลกับวิธีการเรียนการสอนของเรา จากเอกสารของ ทซัง โคส์มา กล่าวว่าโลกธุรกิจเรียกร้องให้โรงเรียนเตรียมนักเรียนนักศึกษาให้มีทักษะพร้อมทำงานเป็นทีม สามารถแก้ปัญหาได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถปฏิบัติงานและประมวลข้อมูล และสำคัญยิ่งกว่านั้นคือ สามารถใช้เทคโนโลโยลีได้อย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อการผลิตและการปฏิบัติอย่างเต็มกำลัง ยกตัวอย่างเช่น ความท้าทายและเป้าหมายการศึกษาของโรงเรียนควรมุ่งเน้นการสร้างบรรยากาศการเรียนรู้ที่นำเทคโนโลยีมาร่วมใช้ พร้อมทั้งปลูกฝังทักษะที่จำเป็นต่างๆ เพื่อช่วยนักเรียน
หากนำเทคโนโลยีมาใช้อย่างถูกต้อง เทคโนโลยีที่กล่าวนี้เช่น สื่อการฟัง สื่อภาพเคลื่อนไหว คอมพิวเตอร์อินเตอร์เน็ท จะช่วยเสริมบรรยากาศการเรียนโดยใช้เทคโนโลยีเหล่านี้อย่างมีประสิทธิภาพ ใช้ให้เป็นเช่นสื่อหรือเครื่องมือในการสร้างเสริมการเรียนของนักเรียน คุณประโยชน์ของเทคโนโลยีในการศึกษาได้ถูกกล่าวไว้คร่าวๆ โดยNCREL (2003)
  • เทคโนโลยีสามารถเปลี่ยนบริบทกิจกรรมการเรียนจากครูเป็นศูนย์กลางสู่นักเรียนเป็นศูนย์กลาง ให้นักเรียนควบคุมบริบทการเรียนของตัวเองมากขึ้น สร้างสรรค์บรรยากาศการเรียนอย่างเกื้อกูลกัน และมีการอำนวยความสะดวกให้เข้าถึงแหล่งข้อมูลและสื่อสารกับสังคมได้หลายวิธี โปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่สามารถโต้ตอบได้สามารถเป็นตัวนำที่ดีในรูปแบบการเรียนแบบผู้เรียนเป็นศูนย์กลางนี้
  • เทคโนโลยีสามารถสร้างกิจกรรมที่ทำให้ผู้เรียนได้ลองปฏิบัติจริง และเข้าใจอย่างแท้จริง โปรแกรมที่กระตุ้นให้นักเรียนฝึกทักษะการแก้ปัญหาทั้งทางกายภาพและจิตใจ กิจกรรมดังกล่าวสามารถสร้างความชำนาญในบริบทที่เสริมขึ้น ทำให้ทักษะพื้นฐานต่างๆ แข็งเกร่ง ช่วยให้นักเรียนพัฒนาไปในระดับที่สูงขึ้น เพิ่มจุดเชื่องต่อของโครงสร้างความรู้กับชีวิตนักเรียน สามารถแจ้งการประเมินผลแก่ผู้เรียน และที่ดีที่สุดคือสามารถสร้างแรงจูงใจนักเรียนได้ ยกตัวอย่างเช่น การใช้แบบเรียนอีเลคโทรนิค ที่เราเห็นกันบ่อยในรูปแบบของซีดี สามารถทำให้กิจกรรมการอ่านที่น่าเบื่อจากเอกสารสิ่งพิมพ์ให้เป็นกิจกรรมที่ตื่นเต้นและมีการโต้ตอบได้
  • โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เทคโนโลยีอย่างอินเตอร์เนท เป็นเครื่องมือที่เหมาะกับผู้เรียนอย่างยิ่ง อินเตอร์เนทสามารถสร้างบรรยากาศการเรียนรู้ให้แก่ผู้เรียนด้วยการฝึกปฏิบัติ ฟังการประเมินเพื่อปรับปรุงความเข้าใจ สร้างองค์ความรู้ใหม่ และสะท้อนความคิด(“Preparing Tomorrow’s Teachers,” 2003).
อะไรจะเป็นอุปสรรคบ้างในการเรียนการสอนแบบนักเรียนเป็นศูนย์กลาง
อุปสรรคที่อาจจะเกิดขึ้นในการนำรูปแบบการเรียนการสอนใหม่นี้ไปใช้ ได้แก่
  • ครูบางท่านปฏิเสธการปลี่ยนแปลง ด้วยความเชื่อเดิมๆ และการปฏิบัติที่คุ้นเคย การปฏิเสธนี้อาจเกิดขึ้นจากภาพลักษณ์ของ “ผู้รู้โดยชอบธรรม” หรือ “ผู้ประสิทธิ์ประศาสตร์ความรู้” ฝังอยู่ในหัว ครูเหล่านี้เห็นภาพด้วยเองว่าได้รับการมอบหมายให้สอน ชี้นำ อำนวยการและควบคุมนักเรียน ดังนั้นจึงกลัวที่จะทำสิ่งอื่นที่แตกต่างออกไป เห็นว่าการเปลี่ยนแปลงนี้ทำลายสถานะและอาชีพของตน
  • ครูจำนวนไม่น้อยไม่ยินดีที่จะปฏิบัติตามแนวทางใหม่ ด้วยเห็นว่าวิธีที่ตนเองใช้สอนอยู่นั้นดีอยู่แล้วดังนั้นจึงไม่เห็นความจำเป็นที่จะต้องเปลี่ยน เหตุที่ครูเหล่านี้ยึดมั่นว่าวิธีที่ทำงานอยู่ปัจจุบันดีอยู่แล้ว ครูเหล่านี้จึงไม่เปิดตัวเองสู่ความคิดและความเป็นไปได้ใหม่ๆ
  • ครูบางท่านเร่งรีบที่จะใช้รูปแบบการสอนใหม่นี้ โดยยังไม่เข้าใจถึงหลักการที่แท้จริงหรือยังไม่มีโอกาสได้คิดถ้วนถี่ หรือยังไม่ได้วางแผนการสอนไว้ระมัดระวัง ครูเหล่านี้มีความประสงค์ที่แรงกล้าที่จะเปลี่ยน หากแต่ไม่ได้พิจาณณาถึงประเด็นทางวัฒนธรรมหรือพิจารณาถึงสภาพชั้นเรียนของตน
  • ครูบางท่านยังขาดความเข้าใจและทักษะในการประสานเทคโนโลยีเข้ากับการสอน น่าเสียดายที่ครูจำนวนมากมีความรู้ด้านคอมพิวเตอร์ค่อนข้างน้อยและไม่ใส่ใจเรียนรู้เพิ่มเติม ในขณะที่บางท่านมีความต้องการหาความรู้ด้านคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีเพิ่งเติมแต่ขาดอุปกรณ์และการสนับสนุน ครูเหล่านี้เห็นคุณค่าและประโชยน์ของคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีแต่รู้สึกอึดอัดเพราะท่านเหล่านี้ไม่ได้ถูกอบรมหรือฝึกฝนให้ใช้เทคโนโลยีเหล่านี้ในชั้นเรียน
  • อาจเกิดกรณีที่ครูพยายามตอบสนองความต้องการของนักเรียนอย่างจริงจัง แต่โครงสร้างขององค์กรหรือนโยบายการสถานศึกษาอาจไม่เอื้ออำนวย ซึ่งเป็นการขัดขวางความพยายามที่จะให้นักเรียนเป็นศูนย์กลางมากขึ้น
  • นักเรียนบางกลุ่มต่อต้านการเรียนการสอนแบบใหม่ เพราะนักเรียนต้องการหลักฐานที่ชัดเจนว่าตนเองได้ถูกสอนบางอย่าง นักเรียนเหล่านี้เห็นเช่นดียวกับครูบางท่านที่ว่า ความรู้ถูกส่งผ่านกันมา และจะรอการป้อนความรู้จากครูเท่านั้น
มีตัววัดอะไรบ้างที่จะบ่งชี้ว่ารูปแบบการเรียนรู้แบบนักเรียนเป็นศูนย์กลางประสบความสำเร็จ
วัตถุเป้าหมายสูงสุดของการเรียนแบบนักเรียนเป็นศูนย์กลางคือการทำให้นักเรียนรู้จัดทิศทางของตนเอง และเป็นผู้เรียนรู้แบบบูรณาการ (เรียนรู้ได้ตลอดชีวิต) หมายถึงครูสามารถช่วยเหลือ ชี้แนวให้นักเรียนเปลี่ยนจากการเรียนแบบพึ่งพาผู้อื่นมาเป็นผู้ที่สามารถหาความรู้เองได้ ความสำเร็จในการนำแนวทางการเรียนรู้นี้ไปปฏิบัติสามารถดูได้จากขั้นตอนการพัฒนาของนักเรียน ตามลำดับดังต่อไปนี้(“Steps Toward,” 1996)
ขั้นที่ 1: ผู้เรียนที่ต้องพึ่งพา (ไม่สามารถหาความรู้ได้ด้วยตนเอง)
ในขั้นแรกนี้ ผู้เรียนจะพึ่งพาครู ครูผู้นำพาความรู้ ให้โครงสร้างและทิศทางว่าต้องทำอะไร อย่างไร และเมื่อไร สำหรับนักเรียน การเรียนคือครูเป็นศูนย์กลาง นักเรียนจะไม่ได้รับโอกาสในการเลือกหรือฝึกควบคุมปฏิบัติในกระบวนการการเรียน
ขั้นที่ 2:  ผู้เรียนที่มีความสนใจใส่ใจ
ในขั้นนี้ ผู้เรียนจะแสดงผลตอบสนองในเชิงบวก ต่อแรงกระตุ้นหรือทิศทางที่ครูกำหนด อย่างไรก็ตามแทนทีการให้ทิศทางแบบกำหนดตายตัว ครูสามารถเชื่องต่อความสนใจของนักเรียนกับบริบทการเรียนได้อย่างประสบความสำเร็จ มีการตอบรับอย่างดี และสร้างบรรยากาศที่ดีในห้องเรียนหรือในชุมชนการเรียนรู้ ทั้งหมดนี้เป็นการตอกย้ำว่านักเรียนสนใจและมีความกระตือรือร้น
ขั้นที่ 3: ผู้เรียนที่มีส่วนร่วม
ในขั้นที่ 3 นี้ นักเรียนได้พัฒนาไปมากแล้ว นักเรียนจะเห็นว่าตนเองเป็นผู้มีส่วนร่วมในการเรียนรู้ของตนเองมากขึ้นและมากขึ้น เห็นคูรค่าของประสบการณ์ชีวติที่ตนเองประสบมา และพร้อมกันนั้นจะเห็นคุณค่าของการเรียนรู้จากประสบการณ์ของผู้อื่น ผู้เรียนจะตอบสนองอย่างดีต่อการสอนแบบเกื้อกูลกัน
ขั้นที่ 4: ผู้เรียนที่สามารถกำหนดทิศทางตัวเองได้
ในขั้นนี้ ผู้เรียนสามารถกำหนดเป้าหมายของตัวเอง วางแผน และตั้งมาตรฐานได้ ผู้เรียนจะรับรู้ถึงความสามารถในการเรียนรู้อย่างอิสระ และรับผิดชอบต่อการเรียนของตน ครูไม่ต้องคอยบรรยาย แต่เป็นผู้ให้คำปรึกษา ตรวจสอบพัฒนาการ ให้คำแนะนำในกระบวนการเรียนรู้
การเรียนแบบนักเรียนเป็นศูนย์กลางนี้เป็นรูปแบบที่นักเรียนเป็นจุดสนใจของกระบวนการเรียน อย่างไรก็ตามในการเรียนรู้รูปแบบนี้ไม่ได้หมายความว่าครูจะต้องหลบฉาก ปล่อยให้นักเรียนดำเนินการเรียนรู้ตามลำพัง แต่หมายถึงเมื่อครูวางแผนการสอน ครูต้องพิจารณาถึงทัศนคติและความต้องการของนักเรียน และทำให้ทิศทางของกระบวนการการเรียนเป็นประโยชน์แก่นักเรียน และยังหมายถึงครูต้องจัดการการสอนในวิธีที่ทำให้นักเรียนรู้สึกเป็นส่วนหนึ่งของการเรียน เห็นคุณค่าต่อกระบวนการการเรียน และสามารถควบคุมการเรียนรู้ของตัวเองได้ การทำให้การเรียนรู้แบบนักเรียนเป็นศูนย์กลางเกิดขึ้นและใช้ได้จริงเป็นความท้าทายอย่างยิ่งของศตวรรษที่ 21 ขั้นตอนการประสานรูปแบบนี้เข้ากับระบบการศึกษาของเราต้องอาศัยการทำงานหนักและความพยายามอย่างยิ่ง จากครูและนักเรียนเช่นกัน
กุญแจสำคัญในการทำให้รูปแบบกาเรียนรู้นี้เกิดขึ้นจริงได้ ในส่วนของครู การศึกษาและใส่ใจกับหลักการของรูปแบบ และเห็นคุณค่าของรูปแบบนี้อย่างแท้จริงนั้นสำคัญยิ่ง จากการเข้าใจที่ถูกต้อง ครูจะสามารถเปลี่ยนความเชื่อและวิธีปฏิบัติเดิมๆ ครูจะสามารถตั้งเป้าหมายและมาตรฐานใหม่ ยังจะสามารถวางแผนการสอน โดยคำนึงถึงอะไรคือสิ่งที่ดีที่สุดสำหรับนักเรียน ในการเปลี่ยนแปลงนี้ครูยังสามารถพัฒนาตนเองและพัฒนาวิชาชีพตนเองด้วย เช่นเดียวกันในส่วนของผู้เรียน นักเรียนจะได้รับคำชี้แนะจากครู ต้องปรับตัวให้เข้ากับรูปแบบและกระบวนการเรียนรู้ใหม่นี้ นักเรียนต้องตระหนักว่าหากยังต้องการยืนอยู่ในโลกที่เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว และอยู่บนโลกแห่งตลาดการแข่งขันที่มีความต้องการแรงงงานที่ได้รับการศึกษาที่มีทักษะการคิดวิเคราะห์ การแก้ปัญหา การตัดสินใจได้ นักเรียนต้องเปลี่ยนวิธีปฏิบัติที่ทำมาทั้งชีวิตที่เป็นผู้รับมาตลอด ให้เป็นผู้กระตือรือร้นในการเรียน นักเรียนต้องติดอาวุธทักษะนี้ให้ตนเอง มีบทบาทควบคุมการเรียนรู้ เป็นผู้เรียนรู้ที่เป็นอิสระ (สามารถเรียนรู้ได้ด้วยตนเอง) และท้ายที่สุด ความหวังที่จะเห็นครูและนักเรียนสอนและเรียนร่วมกันในห้องเรียนจะนำไปสู่บรรยากาศการเรียนรู้ที่มีประสิทธิผลและมีค่ายิ่ง
เอกสารอ้างอิง
Authentic assessment. (2001). Retrieved April 19, 2003, from
Bansberg, B. (2003). Applying the learner-centered principles to the
special case of literacy. Theory into Practice, 42 (2), 142-147.
Bush, T., & Saye, J. (2000). Implementation and evaluation of a
student-centered learning unit: A case study. Educational
Technology, Research and Development, 48 (3), 79-91.
Fink, L. D. (2002). Active learning. Retrieved April 5, 2003, from
Glassglow, N. (1997). New curriculum for new times: A guide to
student-centered, problem-based learning. Thousand Oaks, CA:
Corwin.
Kohonen, V. (1992). Experiential language learning: Second language
learning as cooperative learner education. In D. Nunan (Ed.),
Collaborative language learning and teaching (pp. 17-32).
Cambridge: Cambridge University Press.
Mehan, H. (1979). Learning lessons. Cambridge, MA: Harvard
University Press.
North Central Regional Educational Laboratory (NCREL). (2003).
Focus on student-centered learning/Support professional
development. Retrieved March 27, 2003, from
Preparing tomorrow’s teachers to use technology. (2003). Retrieved
March 3, 2003 from http://www.pt3.org/technology/
tech_learning.html
Steps toward becoming a self-directed learner. (1996). The Teaching
Professor, 10 (4). Retrieved March 3, 2003  from
Tsang-Kosma, W. (2003). Student-centered learning + technology =
rethinking teachers’ education. Retrieved March 27, 2003, from
Watanabe, Y. (1999). Second language literacy through studentcentered learning. The Internet TESL Journal, 5 (2). Retrieved
Williams, D. L. (1980). Thai ways and my ways (Report No. SO
015980). Dekalb, IL: Northern Illinois University, Center for
Southeast Asian Studies. (ERIC Document Reproduction Service
No. ED 231183)
เกี่ยวกับผู้เขียน
Asst. Prof. Chutima Thamraksa obtained her Ph.D. in English Rhetoric and Linguistics from Indiana University of Pennsylvania, U.S.A. in 1997, M.A. in English for Non-Native Speakers and a Certificate in Teaching English as a Second Language (TESL) from
Central Missouri State University, U.S.A. in 1988, and B.Ed. in English from Chulalongkorn University in 1985.
She is currently the Chairperson of the English Department, School of Humanities,
Bangkok University.
Her publications include three textbooks: Exploring through Writing: An Advanced Rhetoric; Report Writing;SLLT 2003 page 71 Critical Reading, and articles on Virtual schooling: a technological and educational revolution, and The use of ICT on language teaching