Categories
Pathway Schools

Bank Street College in New York Cityวิยาลัยแบงค์สตรีทในนิวยอร์คซิตี้

AN OUTSTANDING PATHWAY SCHOOL: THE BANKSTREET SCHOOL FOR CHILDREN, PART OF THE BANK STREET COLLEGE OF EDUCATION

By Peter J. Foley, Ed.D. ( reporting from New York City, February 2012)

If you are fortunate enough to study at the Bank Street College Graduate School of Education or even to   visit the Bankstreet School for Children, you don’t have to ask how the children are doing. You can access the students’ achievements and learning by simply looking all around you. Their work, their learning is everywhere: on the walls, the ceiling, the tables and the floors. The students’ work  reflect their interests, their world.

Below is a picture of an early elementary class’s paper Mache representation of the Hudson River and its   present day surroundings. The study of the Hudson River is a three month study of the river that starts with where the second grade students are   developmentally, beginning with the here and now that surrounds them. The representation in the photo is what the student knows about the river through observation and research from a range of sources.

Part of the second grade student exploration of the Hudson River included a visit to the 79th Street Boat Basin. Below is one student’s representation of that visit.

Gradually, the students will go back in time to the Linape Native Americans who lived along the Hudson River   before the explorers from Europe came to North America. Later in fourth grade   students study the Egyptians along the Nile River, a place they have never been before. This is what we mean by Bank Street’s development interaction   approach, as described by Stan Chu, senior faculty member in the Bank Street Graduate School of Education.

This approach to learning enables children   to integrate their world that has meaning and importance to them and eventually moving    back in time and into far- away places. I noted that differentiated learning was going on all around me. So, each child was presented with learning   activities that were within her or his reach, a reflection of Vygotsky’s Proximal Zone. I also saw that teachers   integrated learning so that , for example, when in history the children studied explorers , in art they made puppets representing the explorers. The   teacher, no doubt, continued this integration in English geography and even in science and math  classes( e.g. mapping, navigation and surveying). An art teacher explained to me that they   used art at the beginning of the year when students set about making rules of   etiquette and classroom management. He explained that the teachers asked their students to recall a time when someone had helped them or been very kind to them and then to illustrate that time and event in a picture.

This continually making the child   the center of gravity in the school was impressive. Below, for example, are   student renditions of what they feel about the snow .

I was shown large outdoor space fenced off with many pieces of sanded and varnished pieces of wood and also   what looked like blocks of wood, known as hollow blocks, which were   originally designed by Caroline Pratt, founder of the City and Country   School. Children, ages 5 to 7 play and learn here once a day for an hour and   build all kinds of structures. I watched a couple of four year old boys   building what looked like a miniature house. They had divided up the labor, one boy carrying lumber back to the project for the floors another working on   the side of the miniature house. Another characteristic of the school is teaching collaborative learning. Students here are learning the value and   effectiveness of cooperative efforts that lead to surprising achievements that a single individual could not hope to accomplish, while recreating parts   of their physical world.

I came away from the visit to the school euphoric. When I asked myself why , I realized that it was being in   the company of so many teachers that were interested and happy in their work   was infectious. They loved what they were doing and could see daily that they   were enabling children to understand deeply the world around them and guiding   these children on a journey that included a joy for learning. I met a dozen or so teachers and all were smiling, happy, enthusiastic and bursting with energy. I noted that at the end of the school day the smiles and enthusiasm were still there.

Yes, I can hear a traditional educator asking as they read this, “but do these students at Banksstreet   Children’s School really master the necessary skills to go on to college?”   The proof is that tracking of their students both in high school and college shows the students perform well beyond the norm.

But I wanted to see for myself. I read the essays posted on the bulletin board about Steinbeck’s Of Mice and   Men.

All the essays were masterfully written. Most were of a quality of writing far, far beyond the seventh grade   level.

Nevertheless, the highlight of my observations was the art work of the three year olds.

These are stabiles created out of pipe cleaners and assorted materials. One piece in particular already showed   symmetric and color combination genius. Miro , the celebrated Majorcan   artist, I know ,would have been pleased with this work of art.

This school is an inspiration and   those who are touched by this school will have received the certain knowledge that real education is all about nurturing and meeting children in the world that is meaningful and makes sense to children.  Also realized is that effective teaching is more like  coaching children to expand their worlds and   become a creator of their world in a meaningful way that will bring personal   contentment and confidence. Children education in this way are enabled to  contribute also to the well being of those around them.

Welcome  to  Student-Centered Learning

Thailand

 LONG LIVE THE KING!

Our Mission:

To provide a center of discussion , information and planning for 21st Century education reform in Thailand that will lead to a unity of purpose and action among  Thai and international educators to realize the goals set forth in the National Education Act of  B.E. 2542 (1999).

At the heart of this National Education Act B.E. 2542 (1999) is a move toward student -centered learning and a student- centered  classroom.  Specifically, Section 24 of the Education Act outlines what must be done   to improve  education  performance : 1. arranging learning in line with the students’ interests , aptitudes and individual differences ;2. training students in thinking abilities, especially critical thinking; 3.organizing learning activities that draw from authentic experiences; and 4. promoting situations where learners and teachers learn together.  

In addition to addressing these key issues of education reform in Thailand , indeed in international education, we also focus our attention and resources on the goal of promoting Thai teachers to reach their potential as skilled teachers using teaching methods that engage their students with the result that students love to learn through self discovery.  

โรงเรียนนำร่องที่น่าเรียนรู้ : โรงเรียนแบงค์สตรีทสำหรับเด็กในวิทยาลัยการศึกษาแบงค์สตรีท

โดย ดอกเตอร์ปีเตอร์ เจ. โฟลีย์ (รายงานจากนิวยอร์คซิตี้ กุมภาพันธ์ 2555)

ถ้าคุณโชคดีพอที่จะได้เรียนที่บัณฑิตวิทยาลัย วิทยาลัยการศึกษา Bank Street หรือแม้แต่เข้าไปเยี่ยมชมที่โรงเรียน Bank Street คุณไม่จำเป็นต้องถามเลยว่าเด็กๆทำอะไรกันบ้าง ท่านสามารถเข้าถึงความสำเร็จและการเรียนรู้ของเด็กนักเรียนได้เพียงการมองไปรอบตัว ผลงานของพกเขามีอยู่ทุกที่ ทั้งบนผนัง, บนเพดาน, บนโต๊ะและบนพื้น งานของเด็กนักเรียนสะท้อนออกถึงความสนใจของพวกเขา โลก ของเขา

ข้างล่างคือภาพผลงาน Paper Mache แสดงทิวทัศน์แม่น้ำฮัดสันและเมืองรอบแม่น้ำในตอนกลางวันของนักเรียนชั้นประถม การศึกษาสภาพโดยรอบแม่น้ำใช้เวลาสามเดือน งานที่เราเห็นในภาพคือตัวแทนของสิ่งที่นักเรียนได้เรียนรู้ผ่านการสังเกตและศึกษาจากแหล่งข้อมูลต่างๆ

ส่วนหนึ่งของงานสำรวจแม่น้ำฮัดสันของนักเรียนประถมสองรวมไปถึงการไปดูที่ถนน Boat Basin สายที่ 79 ภาพล่างคือผลงานหนึ่งของนักเรียนที่แสดงให้เห็นถึงการไปครั้งนั้น

อย่างช้าๆ นักเรียนจะย้อนเวลากลับไปหาชนอเมริกันพื้นเมืองที่อาศัยอยู่ตามแนวแม่น้ำฮัดสันก่อนที่คณะนักสำรวจจากยุโรปจะเข้ามาที่อเมริกาเหนือ จากนั้นในชั้นปีที่สี่ นักเรียนเรียนเกี่ยวกับชาวอียิปต์และแม่น้ำไนล์ สถานที่ที่พวกเขาไม่เคยรู้จักมาก่อน นี่คือสิ่งที่เราเรียกว่าวิธีการพัฒนาแบบปฏิสัมพันธ์ของBank Street อย่างที่ Stan Chu อาจารย์อาวุโสแห่งศึกษาบัณฑิตวิทยาลัยการศึกษาBank Street ได้ให้คำจำกัดความไว้

วิธีการเรียนรู้นี้ช่วยให้เด็กสามารถบูรณาการสิ่งต่างๆที่มีความหมายและความสำคัญของตัวเองเข้ามาและย้อนกลับไปในช่วงเวลาก่อนหน้ารวมถึงสถานที่ห่างไป ผู้เขียนสังเกตเห็นว่าการเรียนรู้หลากหลายวิธีกำลังเกิดขึ้นอยู่รอบตัว ดังนั้น เด็กแต่ละคนจะได้รับวิธีการเรียนรู้ในรูปแบบต่างๆกันตามที่พวกเขาจะเข้าถึง ตามทฤษฎีของรอยต่อพัฒนาการของไวก็อตสกี้ ผู้เขียนสังเกตเห็นถึงการเรียนรู้แบบบูรณาการของอาจารย์เช่นเดียวกัน ยกตัวอย่างเช่น เมื่อเด็กเรียนเรื่องการสำรวจในวิชาประวัติศาสตร์ ในวิชาศิลปะพวกเขาก็จะแสดงละครหุ่นเกี่ยวกับการสำรวจ เช่นกันกับการบูรณาการความรู้นี้เข้าไปในวิชาภูมิศาสตร์อังกฤษหรือแม้แต่วิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ (เช่นการทำแผนที่ความคิด, เส้นทางการเดินทางและการสำรวจ) ครูผู้สอนศิลปะอธิบายแก่ผู้เขียนว่าพวกเขาเริ่มใช้ศิลปะในตอนแรกๆที่นักเรียนพูดถึงการตั้งข้อกำหนดทางมารยาทและการจัดการห้องเรียน ครูศิลปะขอให้นักเรียนนึกถึงช่วงเวลาที่มีเคยได้รับความช่วยเหลือหรือมีคนทำดีด้วย และให้นักเรียนวาดภาพเหตุการณ์ในตอนนั้นออกมาในรูปภาพ

การสร้างให้นักเรียนเป็นศูนย์กลางของกิจกรรมต่างๆในโรงเรียนอย่างต่อเนื่องเป็นสิ่งที่น่าประทับใจมาก เช่นที่แสดงข้างล่างคือการสะท้อนความรู้สึกที่พวกเขามีต่อหิมะ

ผู้เขียนถูกพาไปชมสนามกลางแจ้งในรั้วโรงเรียนที่เต็มไปด้วยกองทรายและชิ้นไม้ขัดเงาและสิ่งที่เหมือนกับบล็อคไม้ที่เรียกกันว่าบล็อคกลวงที่ถูกคิดขึ้นโดยแคโรไลน์ พราทต์ ผู้ก่อตั้งโรงเรียนประจำชุมชน เด็กอายุระหว่าง 5 – 7 ปีจะลงมาเล่นและเรียนที่นี่วันละชั่วโมงเพื่อสร้างทุกอย่างที่พวกเขานึกออก ผู้เขียนเฝ้าดูเด็กสี่ขวบคู่หนึ่งช่วยกันสร้างสิ่งที่ดูเหมือนบ้านขนาดเล็ก พวกเขาแบ่งงานกันทำ คนหนึ่งเดินขนไม้กลับไปให้เพื่อนที่กำลังสร้างบ้านอีกด้านหนึ่งอยู่ บทบาทอีกอย่างหนึ่งของโรงเรียนคือการสอนให้เด็กเรียนรู้การทำงานร่วมกัน เด็กนักเรียนที่นี่ได้เรียนรู้คุณค่าและประสิทธิภาพของความร่วมมือที่นำไปสู่ความสำเร็จอันน่าทึ่งที่คนหนึ่งคนไม่อาจหวังจะทำสำเร็จผ่านการสรรสร้างโลกเล็กๆของพวกเขา

ผมกลับจากการชมโรงเรียนอย่างร่าเริง เมื่อตามตัวเองว่าทำไม ผู้เขียนตระหนักว่ามันคือผลของการเข้าไปอยู่รวมกับครูอาจารย์มากมายที่มีความกระตือรือร้นและมีความสุขในงานของตัวเอง พวกเขารักในสิ่งที่ทำและรักการได้เห็นว่าพวกเขาสามารถทำให้เด็กเข้าในอย่างลึกซึ้งในโลกรอบตัวที่พวกเขาอยู่และชี้ทางเด็กเหล่านี้ไปในเส้นทางที่การเรียนรู้เป็นเรื่องสนุกในทุกๆวัน ผู้เขียนได้พบอาจารย์นับสิบที่ต่างยิ้ม หัวเราะ กระตือรือร้นและเต็มเปี่ยมไปด้วยพลัง ผู้เขียนสัมผัสได้ถึงสิ่งเหล่านั้นกระทั่งหมดวัน

ผู้เขียนเข้าใจถึงสิ่งที่เหล่านักวิชาการศึกษาแบบเดิมจะถามเมื่อพวกเขาได้อ่านบทความนี้ “แต่แล้วเด็กที่โรงเรียนนี้มีความสามารถมากพอในสาขาวิชาที่จำเป็นในการเข้าเรียนต่อในระดับอุดมศึกษาหรือเปล่า?”  ข้อพิสูจน์จากการติดตามเด็กนักเรียนทั้งในระดับมัธยมและวิทยาลัยพบว่าเด็กเหล่านี้ทำได้ดีเกินกว่ามาตรฐาน

แต่ผู้เขียนอยากจะเห็นด้วยตาของตัวเอง ผู้เขียนได้อ่านเรียงความที่ติดบนป้ายประกาศ เกี่ยวกับนวนิยายเรื่องเพื่อนยาก ของจอห์น สไตน์เบ็ค

ทุกชิ้นเขียนได้ดีมาก เรียงความส่วนใหญ่เขียนได้ดีเกินมาตรฐานงานเขียนของนักเรียนเกรด 7 (ม. 1)

แต่ไฮไลท์ของการสังเกตของผู้เขียน อยู่ที่งานศิลปะของเด็กน้อยวัยสามขวบ

เหล่านี้คืองานประดิษฐ์สร้างจากที่ล้างท่อและวัสดุอื่นๆหลายชนิด ชิ้นหนึ่งที่เราเห็นได้ชัดเจนแสดงให้เห็นถึงอัจฉริยภาพในด้านความสมมาตรและการผสมผสานการใช้สีที่ผู้เขียนรู้ดีว่าแม้แต่ศิลปินชื่อก้องอย่างมิโรยังต้องประทับใจ

โรงเรียนแห่งนี้คือแรงบันดาลใจ และผู้ที่เข้ามาสัมผัสที่นี่จะได้รับความเข้าใจว่า การศึกษาที่แท้จริงนั้นคือการฟูมฟักและพบปะกับเด็กในสภาพที่เหมาะสมเพื่อช่วยเหลือให้โลกของพวกเขากว้างขึ้นและกลายเป็นผู้สรรสร้างโลกในทางที่เหมาะสมที่จะนำมาซึ่งความพึงพอใจและความมั่นใจของเด็กและขยายออกไปยังสังคมรอบตัวเด็กเอง

Categories
articles Featured Articles

Student Centered Learning: A Case for Integrated Learning Classroomsการเรียนรู้แบบนักเรียนเป็นศูนย์กลาง – กรณีศึกษาห้องเรียนการเรียนรู้แบบบูรณาการ


Ms Ellen Cornish and Dr Don W Jordan

Our classroom experience has shown us that the many benefits of moving away from rote learning to an integrated learning classroom, is that skills, values and understandings can best be taught and assessed within meaningful ‘connected’ contexts. Based on our understanding of students’ needs, interests, prior knowledge and experience, we planned a set of broad understandings to help frame our unit of work. These understandings – though specific to the topic – incorporated some of the    key concepts that students explore with increasing sophistication as they move through school.  The following is an example of what our classroom planning and teaching towards enhancing understanding in an integrated classroom looks like, sounds like, and feels like, together with a suggested unit of work on the human body, feel good feel great.

Integrated learning advantages teachers and students by:

·         Reflecting, more closely, the interdependence between all aspects of life in the real world

·         Challenging learners to use and develop their thinking as they work to make connections and see the ‘big picture’

·         Catering to the various learning styles and preferences held by students

·         Managing an increasing crowded curriculum

·         Meeting outcomes in context

·         Making more ‘sense’ to the school day – as activities have stronger links with each other

·         Providing students with a greater degree of control over learning

·         Encouraging staff to plan and work in teams

·         Structuring a meaningful context for the teaching and assessment of outcomes across key learning areas

·         Enabling students to transfer knowledge, skills and values across content and experiences

·         Skilling students to process and respond to experience in a range of ways

·         Linking purposes with activities more explicitly

·         Enriching understanding, enjoyment and reflection in teaching and learning.

The essence of this approach to planning is the relationship between those learning areas concerned with ‘the world around us’ (science, technology, health, and environmental and social education) and those areas through which we explore and come to understand that world (language, mathematics, art, drama, dance, music and aspects of technology.  Kath Murdoch (2003, P.1)

 

Creating an Integrated Classroom

 

An Integrated Classroom

Connects Prior Learning to New Learning

 

 

Fosters Reflective Practices

Makes Learning Meaningful

Recognises Individual Differences

Looks like

 

  • Teachers working / planning collaboratively.
  • Desks arranged in clusters of 4-6.
  • Activity centres with work space and resources.
  • Wall displays of student work and instructional material.
  • Comfortable reading space. (Cushions and books).

  • Smiling faces.

 

  • Tuning in activities using various graphic organisers e.g. what I know, what I would like to know etc.
  • Teacher assessment. (formative, summative).

 

  • Teacher and student created rubrics.
  • Students displaying their learning in a number of ways, e.g talking, writing, art, drama etc.

 

  • Relevant and up to date resources.

 

  • Adequate work spaces for students.
  • Curriculum relevant to student needs and interests.

 

  • Classroom program arranged to allow students to find space and resources. Allowing the teacher to give time and encouragement to students in order to demonstrate their learning across curriculum areas.
  • Learning program developed so that students can enter at their level and be extended and challenged.

Sounds like

 

  • Students discussing and helping each other.
  • The teacher interacting with individuals and groups.
  • Students confidently sharing their learning with the class through speaking, writing, drama, music, art.

 

 

 

 

 

 

  • Students being able to discuss their understandings and to make connections.

 

 

 

 

 

 

  • Students confidently explaining, discussing their learning with peers, teacher and parents.

 

 

 

 

  • Teacher making learning objectives clear.
  • Opportunities for students to takes risk in sharing their learning.

 

 

 

 

  • The sound of discussion between students and between students and teacher.
  • Students sharing the learning with peers, parents and teacher.

 

Feels like

  • Warm and safe to share confidently.
  • To ask questions and give opinions.
  • Inviting and feeling part of the group.

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

  • Warm and safe to share confidently.
  • To ask questions and give opinions.
  • Inviting and feeling part of the group.

 

 

 

  • Warm and safe to share confidently.
  • To ask questions and give opinions.
  • Inviting and feeling part of the group.

 

  • Students feeling confident to share their understandings with others.

 

 

 

 

 

 

  • Supportive environment so students feel comfortable to give thoughts and opinions.

 

 

 

 

 

 

 

 

References

Murdoch, K. (2003), Classroom Connections; Strategies for Classroom Learning. Australia: Publishing Solutions.

 

Glossary

Overarching Goals: Goals which overshadow the whole topic.

Tuning In: Finding out what the students already know about the topic, as well as what they would like to find out in order to stimulate their interest and enthusiasm for the topic.

Brainstorm: group discussion and sharing of ideas.

Guiding Questions: questions related to the topic which promote thought as well as refining the investigation to be undertaken.

Graphic Organiser: Charts which help visually organise information (there are many examples, including Y charts, T charts, fish bones, placemats, concept maps, flow charts etc. on the internet)

Rubrics: Teacher or student generated charts based on the topic being studied to assist with self-assessment.

Formative Assessment: Teacher assessment, as well as student self-assessment which can be demonstrated through drama, oral presentations, written material, information technology, art and craft etc.

Summative Assessment: System and school based testing.

Culmination: The final part of the topic where students demonstrate their understandings using a variety of methods including drama, information technology, oral presentations, written material, art and craft etc.

 

 

 

 

โดย Ellen Cornish  และ  Dr Don W Jordan

จากประสบการณ์ในชั้นเรียนของเราได้แสดงให้เราเห็นว่าประโยชน์ของการเปลี่ยนการเรียนการสอนจากแบบท่องจำ มาเป็นการเรียนแบบบูรณาการในชั้นเรียนนั้น ไม่ว่าจะเป็นด้านทักษะ ด้านคุณค่าแห่งการเรียนรู้ และความเข้าใจ ก็จะสามารถประเมินได้อย่างมีเหตุมีผล และ “เชื่องโยง” กับเนื้อหา ทั้งนี้การเรียนแบบนี้จะต้องขึ้นอยู่กับความเข้าใจในนักเรียนของเรา ทราบถึงความต้องการของนักเรียน ความสนใจ ประสบการณ์และความรู้เบื้องต้นที่นักเรียนมีมาเป็นพื้นฐาน เราจะต้องวางโครงร่างความเข้าใจเพื่อช่วยในการวางแผนการสอน ความเข้าใจนี้เป็นไปตามหัวข้อเรื่องที่จะเรียนแต่ประสานร่วมกับประเด็นสำคัญที่นักเรียนจะสามารถเปิดโลกทัศน์ได้ตามความสนใจของนักเรียน กรณีต่อไปนี้เป็นตัวอย่างที่ดีเกี่ยวกับการวางแผนห้องเรียนและวางแผนการสอน โดยเน้นและให้ความสำคัญกับความเข้าใจ ระบุให้เห็นว่าในการเรียนการสอนแบบบูรณาการควรจะมีหน้าตา ลักษณะอย่างไร พร้อมกันนั้นกรณีศึกษานี้ได้ให้แบบเสนอแนะเกี่ยวกับเรื่องอากับกิริยาของนักเรียน เมื่อรู้สึกใช่ รู้สึกดี ไว้ด้วย

การเรียนรู้แบบบูรณาการสามารถพัฒนาครูและนักเรียนได้จาก

·         การสะท้อนภาพให้เห็นอย่างชัดเจนขึ้น โดยคำนึกถึงแง่มุมต่างๆในชีวิตและในโลกความเป็นจริง

·         ท้าทายให้ผู้เรียนได้ใช้และพัฒนาทักษะการคิด ในขณะที่ผู้เรียนเรียนรู้เพื่อเชื่องโยงให้เห็น “ภาพรวม”

·         เหมาะสมกับผู้เรียนหลากหลายรูปแบบและสามารถจัดการเรียนรู้ได้ตามความชื่นชอบของนักเรียน

·         การจัดการหลักสูตรที่หนาแน่นขึ้นได้

·         บรรลุผลลัพธ์จากเนื้อหา

·         ชีวิตประจำวันในโรงเรียนดูมีความ ”เข้าท่า” มากขึ้น เนื่องจากกิจกรรมต่างๆ เชื่องโยงกันมากขึ้น

·         การให้นักเรียนสามารถควบคุมการเรียนรู้ของตัวเองได้มากขึ้น

·         สนับสนุนให้เจ้าหน้าที่ในโรงเรียนวางแผนและทำงานเป็นทีม

·         การจัดโครงสร้างเนื้อหาที่มีความสมเหตุสมผลสำหรับครูและการประเมินวัดผลของผลที่ได้รับกับพื้นที่การเรียนรู้ที่หลากหลาย

·         นักเรียนสามารถแลกเปลี่ยนความรู้ ทักษะและคุณค่าของความรู้จากเนื้อหาและประสบการณ์

·         สร้างทักษะนักเรียนให้พัฒนาและตอบสนองกับประสบการณ์ต่างๆ ได้หลากหลาย

·         เชื่องโยงวัตถุประสงค์กับกิจกรรมได้อย่างชัดเจนขึ้น

·        การเกิดความเข้าใจที่สมบูรณ์ รู้สึกสนุกและสามารถสะท้อนภาพการเรียนการสอนได้

หัวใจสำคัญในการวางแผนการสอนตามแนวทางนี้คือการจัดความสัมพันธ์ที่เชื่องโยงระหว่างสิ่งที่เกี่ยวข้องกับสิ่งที่เรียนกับ “โลกรอบตัวเรา” (วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี สาธารณสุข และสิ่งแวดล้อม และสังคมศึกษา) และพื้นที่อื่นๆ ที่เรามีส่วนเกี่ยวข้องหรือโลกที่เราต้องเข้าใจ (ภาษา คณิตศาสตร์ ศิลปะ ละคร ดนตรี และแง่มุมของเทคโนโลยี) Kath Murdoch (2003, P.1)

การสร้างชั้นเรียนแบบบูรณาการ

ชั้นเรียนแบบบูรณาการ

เชื่องต่อความรู้เดิมกับความรู้ใหม่

 

 

กระตุ้นให้เกิดการคิดแบบสะท้อน

ทำให้การเรียนรู้มีความหมาย

ตระหนักถึงข้อแตกต่างของแต่ละคน

มีลักษณะอย่างไร

 

  • ครูทำงานและวางแผนร่วมกับนักเรียน
  • จัดโต๊ะและเก้าอี้เป็นกลุ่มย่อย 4-6 โต๊ะ
  • ความสนใจมุ่งไปที่ชิ่นงานหรือแหล่งเรียนรู้
  • ผนังห้องโชร์ผลงานนักเรียนและสื่อเสนอให้เห็นโครงสร้างต่างๆ
  • มีพื้นที่การอ่านที่น่าใช้งาน (โชฟาและหนังสือต่างๆ)

 

  • หน้าตายิ้มแย้มแจ่มใส

 

  • ปรับเข้าสู่กิจกรรมหรือชิ้นงานด้วยวิธีการต่างๆ เช่น อะไรที่นักเรียนทราบแล้ว หรือ อะไรที่นักเรียนต้องการรู้

 

 

  • การประเมินจากครูแบบไม่เป็นทางการ และแบบสรุปความ
  • นักเรียนและครูสร้างโครงร่างระบบการเรียนรู้ร่วมกัน
  • นักเรียนแสดงออกว่ากำลังเรียนรู้ในหลากหลายวิธี เช่น พูด เขียน วาด หรือเล่นละคร

 

  • มีสื่อและแหล่งเรียนรู้ที่ทันสมัยและเหมาะสมกับเนื้อหา

 

  • นักเรียนมีพื้นที่ในการเรียนรู้และทำงานที่เหมาะสม
  • หลักสูตรเชื่องโยงและเกี่ยวข้องกับความต้องการและความสนใจของนักเรียน
  • การจัดการห้องเรียนอนุญาตให้นักเรียนสามารถหาแหล่งเรียนรู้ได้ อนุญาตให้ครูสามารถให้เวลากับนักเรียน และสามารถกระตุ้นให้นักเรียนแสดงออกถึงการเรียนรู้ของเขาในแง่มุมต่างๆ ของหลักสูตร
  • หลักสูตรการเรียนรู้ที่มีการพัฒนา เพื่อให้นักเรียนได้เรียนในระดับของตน และได้การท้าทายจากหลักสูตรในเวลาเหมาะสม

มีโสตสำเนียงอย่างไร

 

  • นักเรียนแสดงความคิดเห็นและช่วยเหลือกัน
  • ครูมีปฏิสัมพันธ์กับนักเรียนเป็นรายบบุคคลและเป็นกลุ่ม
  • นักเรียนมีความมั่นใจในการแลกเปลี่ยนความรู้ในห้องผ่านการพูด เขียน ร้องเพลงหรือเล่นละคร

 

 

 

 

 

 

  • นักเรียนสามารถถกเถียงความเข้าใจ แลกเปลี่ยนกันและสร้างความเชื่องโยงได้

 

 

 

 

 

 

  • นักเรียนมีความมั่นใจในการอธิบาย แลกเปลี่ยนความรู้กับเพื่อนร่วมชั้น ครูและผู้ปกครอง

 

 

 

 

  • ครูชี้แจงวัตถุประสงค์ในการเรียนรู้ที่ชัดเจน
  • เปิดโอกาสให้นักเรียนโต้เถียงและแสดงความเห็นต่างเพื่อแลกเปลี่ยนการเรียนรู้

 

 

 

 

  • มีเสียงการแลกเปลี่ยนระหว่างนักเรียน และระหว่างครูกับนักเรียน
  • นักเรียนแลกเปลี่ยนการเรียนรู้กับเพื่อ ครูและผู้ปกครอง

 

ให้ความรู้สึกอย่างไร

  • บรรยากาศที่อบอุ่น ปลอดภัยในการแลกเปลี่ยนอย่างมั่นใจ
  • มีการถามคำถามและให้ความคิดเห็น
  • เชื้อเชิญและรู้สึกเป็นส่วนหนึ่งของกลุ่ม

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

  • บรรยากาศที่อบอุ่น ปลอดภัยในการแลกเปลี่ยนอย่างมั่นใจ
  • มีการถามคำถามและให้ความคิดเห็น
  • เชื้อเชิญและรู้สึกเป็นส่วนหนึ่งของกลุ่ม

 

 

 

  • บรรยากาศที่อบอุ่น ปลอดภัยในการแลกเปลี่ยนอย่างมั่นใจ
  • มีการถามคำถามและให้ความคิดเห็น
  • เชื้อเชิญและรู้สึกเป็นส่วนหนึ่งของกลุ่ม

 

 

  • นักเรียนรู้สึกมั่นใจในการแลกเปลี่ยนความเข้าใจของตนกับคนอื่น

 

 

 

 

 

 

 

 

  • บรรยากาศที่สนับสนุน ให้นักเรียนรู้สึกสบายในการแสดงความคิดและเสนอความคิดเห็น

 

 

 

 

 

 

 

 

หนังสืออ้างอิง

Murdoch, K. (2003), Classroom Connections; Strategies for Classroom Learning. Australia: Publishing Solutions.

 

อภิธานศัพท์

เป้าหมายครอบคลุม (Overarching Goals): เป้าหมายที่ครอบคลุมหัวข้อทั้งหมด

ปรับเข้าสู่บรรยากาศ  (Tuning In): ค้นหาว่านักเรียนรู้อะไรอยู่แล้วในหัวข้อนี้ ในขณะเดียวกันค้นหาว่านักเรียนต้องการอยากรู้อะไร เพื่อกระตุ้นให้นักเรียนสนใจและมีความกระตือรือร้นกับหัวข้อนั้น

ระดมสมอง (Brainstorm): การแลกเปลี่ยนในกลุ่มและวิพากท์เพื่อให้ได้ความคิดที่หลากหลาย

คำถามเชิงชี้แนะ (Guiding Questions): คำถามที่เกียวกับหัวข้อที่เรียนรู้ ที่ชี้แนะหรือสนับสนุนให้เกิดการคิด ค้นหา และการมีส่วนร่วมในการเรียนรู้

สื่อเสนอให้เห็นโครงสร้าง (Graphic Organiser): สื่อหรือกราฟหรือภาพประกอบที่ช่วยให้นักเรียนเห็นการจัดการเชิงรูปธรรม เช่น กราฟตัววาย Y กราฟตัวที T กราฟก้างปลา แผนที่โครงสร้าง ผังการจัดการ สิ่งเหล่าหาได้ไม่ยากในอินเตอร์เน็ท

โครงร่างระบบการเรียนรู้แบบรูบิค  (Rubrics): ครูหรือนักเรียนสร้างโครงร่างการเรียนรู้จากหัวข้อที่กำลังเรียนอยู่เพื่อช่วยประเมินตัวเองในกระบวนการเรียนรู้

การประเมินอย่างไม่เป็นทางการ (Formative Assessment): การประเมินผลของครูและนักเรียนในการประมเนตนเอง ที่สามารถทำได้โดยผ่านการแสดงออกเช่น การเล่นละคร การนำเสนอหน้าห้อง การผลิตงานเขียน หรืการใช้สื่อเทคโนโลยี รวมทั้งผ่านงานศิลปะต่างๆ

การประเมินแบบสรุปความ (Summative Assessment): การทดสอบโดยยึดระบบและตามกรอบของโรงเรียน

ประเด็นสำคัญที่สุด (Culmination): ส่วนสุดท้ายของหัวข้อที่นักเรียนจะแสดงออกถึงความเข้าใจของตัวเองโดยผ่านวิธีการต่างๆ เช่น การเล่นละคร การนำเสนอหน้าห้อง การผลิตงานเขียน หรืการใช้สื่อเทคโนโลยี รวมทั้งผ่านงานศิลปะต่างๆ