Categories
Op Ed Opinion:Thai education

Society in Transition …. Education in Transition สังคมเปลี่ยน…การศึกษาเปลี่ยน

Society in Transition …. Education in Transition

Internationally, each change in social and economic structure, brings  a new way of seeing the world and a new physical shape for the community. One of these great social transitions in history was the move from societies being based on agriculture to economies became based on industry.

Around the world in the 21st Century, countries are in a major transition similar to these great transitions of the past.

It is evident that globalization has brought a new configuration to give people access to the means of knowledge production, land use and living space to satisfy their needs.

In the case of Thailand, the economy is strongly agriculture based, and the agricultural society was traditionally  self contained. A change has happened over the last thirty years.  This change from a self contained agricultural system, industrialization and the accompanying urbanization of Thailand with its population shift to big cities, has created a   strain on the traditional social structure.

In 2005, the US Pulitzer Prize winning business writer Thomas L Friedman, wrote a book called The World is Flat in which he examined the shrinking size of the earth and the interconnectedness of people all around the world that has come as a result of the rapid spread of information and communications technology [ICT].

It is now possible for people to work together and compete in real time with more other people on the planet and on a more equal footing than at any previous time in history.

People can meet and collaborate by using computers, email, teleconferences, video conferences and may types of dynamic new software. For example , Thai students studying overseas are able to read the Bangkok daily newspapers on line, talk with family and friends on line and network socially in real time as though they were at home in Thailand.

Google, Apple, Micro Soft, the GPS, the mobile phone, Facebook, Twitter, blogging, various programs and ICT facilities have “flattened” the Earth.

The world of the 21st Century Knowledge Age requires a new mix of skills. Jobs that require routine manual and thinking skills are giving way to jobs that involve higher levels of understanding of complex knowledge, and applied skills like expert thinking.

It is a worthwhile professional learning exercise for teachers to reflect on the way their society has changed, as well as the way the world has changed and look at the impact of such changes on their work as teachers.

In the West, schools have changed in different periods of history:

  • The village school was the product of the agricultural era
  • The large suburban school was the product of the industrial revolution
  • Borderless, internationalized, networked schooling, interactive campuses are more likely to be the norm in the future.
  • Life- long learning is recognised as an essential feature of the information age.

For Thai schools and Thai teachers, it is useful to examine and where they fit helping their country fit with the trends in 21st Century education.

How have schools changed in the different periods of Thai history?

How must they change in the future?

SCLThailand is trying to assist teachers in this mission while at the same time respecting Thai cultural contexts and traditions.

The January paper presented here is the first of three which look at the need to develop deep understanding in students.

The first paper in the series emphasizes the fact that reform is a slow process and reform must be embedded in the particular national context of where it is occurring.

We look forward to readers’ discussion on the educational challenges posed by the flat world and welcome contributions.

Greg Cairnduff

Acting Editorสังคมเปลี่ยน….การศึกษาเปลี่ยน

ทั่วไปแล้ว แต่ละการเปลี่ยนแปลงในด้านสังคมและโครงสร้างทางเศรษฐกิจ นำมาสู่มุมมองใหม่ ในการมองโลกและรูปแบบโครงสร้างชุมชนแบบใหม่ หนึ่งในการเปลี่ยนแปลงทางสังคมครั้งยิ่งใหญ่ครั้งหนึ่งในประวัติศาสตร์คือการเปลี่ยนแปลงจากสังคมเกษตรกรรมมาสู่สังคมอุตสาหกรรม

ในช่วงที่โลกอยู่ในสมัยศตวรรษที่ 21 ประเทศต่างๆส่วนใหญ่มีการเปลี่ยนแปลงในรูปแบบที่คล้ายคลึงกัน

นี่คือผลของโลกาภิวัตน์ (globalization) สร้างค่านิยมให้คนใช้ทรัพยากรความรู้ในการผลิต การจัดสรรที่ดินและพื้นที่อยู่อาศัยเพื่อตอบสนองความต้องการของตน

ในกรณีของประเทศไทย พื้นฐานเศรษฐกิจที่สำคัญมาจากภาคการเกษตร และรูปแบบสังคมเกษตรกรรมนั้นมีการดำรงอยู่มาช้านาน การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในช่วงสามสิบปีที่ผ่านมา จากการพึ่งพาตนเองทางด้านเกษตรกรรม สู่ผลลัพธ์ของระบบอุตสาหกรรมและการพัฒนาเมือง ประกอบกับการเปลี่ยนแปลงของประชากรในเมืองใหญ่ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงของรูปแบบโครงสร้างทางสังคม

ปี 2548 โทมัส แอล ฟรีดแมน เจ้าของรางวัลพูลิเซอร์สาขาธุรกิจ ได้เขียนหนังสือเรื่อง World is Flat (สำนักพิมพ์เพนกวิน) ซึ่งเขาได้อธิบายถึงการที่ขนาดของโลกเล็กลงและการเชื่อมโยงระหว่างผู้คนทั่วโลกอันเป็นผลลัพธ์ของการแพร่กระจายอย่างรวดเร็วของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ICT)

นั่นคือในปัจจุบัน การที่คนจะทำงานร่วมกันและแข่งขันกับคนอื่นๆไปพร้อมกันอย่างเท่าเทียมมีความเป็นไปได้มากยิ่งกว่าช่วงเวลาใดๆในประวัติศาสตร์ที่ผ่านมา

ผู้คนสามารถพบและทำงานร่วมกันโดยใช้คอมพิวเตอร์, อีเมล์, การประชุมทางไกล, video conferences และอีกหลากหลายรูปแบบใหม่ๆ ยกตัวอย่างเช่น  นักเรียนไทยที่ไปศึกษาที่ต่างประเทศสามารถที่จะอ่านหนังสือพิมพ์กรุงเทพรายวันออนไลน์, คุยกับครอบครัวและเพื่อนผ่านอินเตอร์เน็ตและสื่อสังคมออนไลน์ได้ทันทีเหมือนตอนที่เขายังอยู่เมืองไทย

สะดวกด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารต่างๆเหล่านี้เองที่ทำให้โลก “แคบ”

ความรู้ในโลกในศตวรรษที่ 21 ต้องอาศัยการผสมผสานของหลายทักษะวิชา งานแบบที่ทำเป็นขั้นตอนและใช้ความคิดถูกแทนที่ด้วยงานที่ต้องอาศัยความเข้าใจในความรู้ที่ซับซ้อนที่สูงขึ้น รวมไปถึงทักษะการประยุกต์ใช้อย่างเชี่ยวชาญ

มันเป็นประสบการณ์การเรียนรู้ที่คุ้มค่าสำหรับครูที่จะตอบสนองต่อของสังคมที่เปลี่ยนแปลงไป เช่นเดียวกับการเปลี่ยนแปลงของโลกและมองถึงผลกระทบของมันในงานของตนในฐานะครู

ในโลกตะวันตก โรงเรียนมีการเปลี่ยนแปลงแตกต่างกันไปในแต่ละช่วงยุคประวัติศาสตร์:

โรงเรียนในหมู่บ้านเป็นผลพวงของยุคสังคมเกษตรกรรม

โรงเรียนในเขตชานเมืองใหญ่เป็นผลมาจากการปฏิวัติอุตสาหกรรม

การเรียนแบบไร้พรมแดน หรือการเรียนผ่านเครือข่าย มีแนวโน้มมากขึ้นที่จะเป็นรูปแบบการเรียนในอนาคต

การเรียนรู้ตลอดชีวิตเป็นคุณลักษณะสำคัญที่ได้รับการยอมรับในยุคข้อมูลข่าวสาร

สำหรับโรงเรียนและครูในประเทศไทย เป็นเรื่องสำคัญที่จะเป็นตัวอย่างและปรับบทบาทเพื่อช่วยเหลือสังคมให้เปลี่ยนแปลงอย่างเหมาะสมกับรูปแบบการศึกษาของศตวรรษที่ 21

โรงเรียนของไทยมีการเปลี่ยนแปลงที่ผ่านมาอย่างไรบ้าง?

มันจะต้องเปลี่ยนแปลงไปอย่างไรในอนาคต?

SCL Thailand พยายามที่จะช่วยเหลือครูทั้งหลายในบทบาทนี้ในขณะเดียวกันก็เคารพในบริบททางวัฒนธรรมและประเพณีของไทย

บทความในเดือนมกราคมนี้เป็นตอนแรกแรกในสามบทที่จะมองหาความจำเป็นที่จะต้องพัฒนาความความรู้ความเข้าใจอย่างลึกซึ้งในตัวนักเรียน

เนื้อหาในบทความแรกจะกล่าวย้ำถึงความจริงว่าการปฏิรูปนั้นเป็นกระบวนการที่เชื่องช้าและการปฏิรูปนั้นต้องฝังตัวอยู่ในบริบทของประเทศที่มันจะเกิดขึ้น

เรายินดีต้อนรับความคิดเห็นและข้อเสนอแนะทางการศึกษาบนโลกแคบๆใบนี้

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *