Categories
Uncategorized

Inching Closer to Student Centered Learning: A Visit to MaeChan School

 

A Visit to the MaeChanWitayacom School: Inching Closer to 

Student Centered Learning and Student Centered Teaching     

by Peter J. Foley , Ed.D.

 

A visit to the MaeChan Witiacom School in Chiangrai at the end of November provided an opportunity to compare and contrast the visit I had made in early November to the Chiangmai Demonstration School.

The Chiangmai Demonstration school has 1, 356  students that include elementary and secondary schools , while the  Mae Chan School has 2,488 just in the high school.  Both schools have large numbers of students in classrooms.  An average classroom has between 40 and 45 students in a class.

Demonstration schools throughout Thailand, known as Sathit schools,  are  very selective, with only the highest scoring students admitted.  Demonstration Schools are expected to manifest excellent teaching models that the rest of Thailand’s teachers can learn from though  visits to the Demonstration Schools.  Amphur Schools are open to all  whose elementary grades are high enough . Amphur schools are located in city centers and are of a higher caliber generally than rural schools.  These smaller city schools attract higher performing  students and generally, higher performing  teachers.  About 60% of the Mae Chan students go on to major public universities where at Chiangmai Demonstration School 100% or almost 100% of its graduates go on to major universities.

It was surprising therefore, that I did not find a vast difference in the teaching styles  I observed this simply by  standing outside the classrooms of both schools and listening to the teacher conduct classes. There is still a preponderance of teaching that relies on the teacher giving information and the students  trying to soak up the information.

From the perspective of one who is an advocate  for student centered learning, student centered teaching and a student centered  classroom, I  found the MaeChanWitiacom School more interesting than the Chiangmai Demonstration School  on several counts.   To be fair, I was unable to sit through a whole class with a regular teacher at both schools, so my information is gathered as   the  observations of  as a casual observer.  There was abundant evidence at the Ampur government school that a real effort was being made to incorporate student centered teaching practices.  I observed some efforts in this direction at the Chiangmai Demonstration School but not on the scale of the MaeChan School

At Mae Chan School , I spent most of my time at the Mathematics building.  There is no doubt that the math teachers at Mae Chan are aware and trying to apply the inquiry method in their teaching.  There are math laboratories , for example, filled with “learning by doing” projects.  Every room I passed had a definite theme.  One room was for gifted math students, another was titled Pythagoras , another the Statistics Room.

 

Nevertheless,  there was not enough evidence at either school that students are being made responsible for their own learning and that assessments of students are made on authentic performances as opposed to routine written exams that rarely test the true understanding of  learning.

In order to recommend a school as a  pathways school , that is , a school where other Thai teachers can learn student centered teaching methodologies, much more evidence of real student engagement in their own learning has to be in evidence.  Only three schools to date have shown that promise:  the Prasarnmit Demonstration School in Bangkok,  The School for Life in Chiangmai, and the Mechai Pattana School in Buriram .

 

Categories
Op Ed Opinion:Thai education

Chiangmai Demonstration Schoolโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยเชียงใหม่


 

 

Visit to the Chiangmai Demonstration School

By  Peter J. Foley, Ed.D.

 

Smack dab in the middle of ChiangmaiUniversity is a pot of gold in terms of talented teenagers.  These teenagers  study at the Chiangmai Demonstration School only a stone throw away from the Chiangmai University Faculty of Education.  The school has 1,356 students , 80 teachers and 30 teacher assistants.  Every year approximately 3,500 students take the entrance exam to be admitted to the  Chiangmai Demonstration   School  ;only 240 are admitted.   Those who attend this highly selective school , therefore, are the crème de la crème of  the Northern Thai youth gifted brain pool.

It is little wonder that every year 100% or nearly 100% of these students go on to university.  In addition, about a handful of their especially gifted students  get scholarships to study overseas.  Most of the graduating students take a few steps from their old high school and attend Chiangmai University, the premier Thai university in the North of Thailand.

I visited the Chiangmai Demonstration School on November 4th , a day full of sunshine and pleasant temperatures for which Chiangmai is noted in this beginning of the cool season.  Ajaan Jum graciously showed me around the school.  The school Director , Ajaan Patajan, kindly arranged for me to observe an English class of Matayom 2 ( 8th grade in the American system).   A student teacher taught the class.  This was the first time I had observed a student teacher inThailand.  A stroke of luck  since I got a first hand look at what currently was being taught to student teachers at Chiangmai University’s faculty of education and also by  the regular teachers at the Chiangmai Demonstration School who advise the student teachers.

Twenty-two  year old student teacher , Ms. Phachara, taught the class of 44 students. It was immediately apparent that she had what I call fire in the belly, meaning that she loved teaching and really wanted to be a teacher.  I asked her if you thought about a different career besides teaching.  “Oh no,  I want to teach, that is what I really want to do.” she replied without a moment’s  hesitation.  Ajaan Bambi is her supervising teacher.  It was obvious from the outset that there are  good teacher training practices being taught to future teachers.  There are also some disturbing continuations of traditional Thai rote teaching of language where students recite after the teacher  in unison, sentence after sentence , word after word with little concern for real understanding.

                                                                                                                      Ms. Phachara, Student Teacher

Ms. Phachara, had planned her lesson well.  She had organized a lesson in the conditional tense in four sections.  In each section, she used what Bloom’s Revised Taxonomy refers to as learning domains.  Ms. Phachara designed her lesson around a popular song by Beyonce.  The song has a number of conditional sentences, such as, “if I were a boy”.

Once Ms. Phachara has gone over the meaning of the words in the song and isolated the conditional sentences for the students, she conducted a series of activities that involved analyzing , applying , understanding and remembering.  The students were for the most part engaged and having fun learning.

What I found impressive was that about half way through the 50 minute period , Ms. Phachara divided up the class into four working groups. She gave each group sentences to each group to analyze and then apply by creating their own answers to questions raised in the song.

Once she handed out the sentences to the four groups, all the students suddenly broke out in animated discussions about the sentences they had been given.  The noise level grew in the room ,yet the student teacher was unperturbed.  Most student teachers in my experience would have been reluctant to let the class noise level increase to such a pitch, failing to note that this period of collaborative learning and application is when real learning , real understanding of the lesson is solidified.

Toward the end of the class period, she had groups of students writing on the black board and explaining their answers to the rest of the class.  This class was not what observers dread the most:  a class where the teacher lectures sleeping teen agers with no interaction with the students.

In sum, it was an impressive teacher performance given that this was a student teacher.  The only drawback that I observed was a technique  the student teacher used a couple of times and is still used in Thai schools of the teacher reciting  word or sentence and then the class repeating in unison in dull and listless monotony. This is a throw back to a bygone era where the object of school was rote memorization with little regard for understanding.

Teachers come from all over Thailand come to observe good teaching practices   at the Chiangmai Demonstration School.   An area that perhaps can be explored is an assessment of how these teacher observations are structured and what is actually carried back by the observing teachers and used in their schools in their teaching.

 

 

 

เยี่ยมชมโรงเรียนสาธิตมหาวิยาลัยเชียงใหม่

โดย Peter J. Foley, Ed. D.

ใจกลางของมหาวิทยาลัยเชียงใหม่เป็นแหล่งรวมของเหล่าวัยรุ่นผู้มีความสามารถ  เด็กเหล่านี้คือนักเรียนของโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ซึ่งอยู่ไม่ไกลจากคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ประกอบด้วยนักเรียน 1,356 คน ครู 80 คนและครูอัตราจ้าง 30 คน
ทุกๆปีจะมีจะมีเด็กราว 3,500 คนสอบเข้ามาเรียนที่นี่ และมีเพียง 240 คนที่ได้รับเลือก จากการคัดเลือกอย่างเข้มข้นเช่นนี้นักเรียนที่นี่จึงนับได้ว่าเป็นเด็กนักเรียนหัวกะทิในบรรดาเด็กหัวกะทิทั้งหมดทั่วภาคเหนือของไทย

ทุกปี ทั้งหมดหรือเกือบจะทั้งหมดของนักเรียนเหล่านี้เข้าเรียนต่อมหาวิทยาลัย หรือมีบางส่วนที่มีผลการเรียนยอดเยี่ยมได้รับทุนการศึกษาให้ไปศึกษาต่อต่างประเทศ ส่วนใหญ่เลือกเข้าในมหาวิยาลัยเชียงใหม่ มหาวิทยาลัยชั้นนำในภาคเหนือของประเทศไทย

ผู้เขียนมีโอกาสเข้าไปชมการเรียนการสอนที่โรงเรียนนี้เมื่อวันที่ 4 พฤศจิกายนที่ผ่านมา ได้รับความกรุณาจากอาจารย์จุ๋มเป็นผู้ดูแลในการเยี่ยมชมครั้งนั้น ผู้อำนวยการโรงเรียน อาจารย์ภัทรจารย์ให้ผู้เขียนได้มีโอกาสเข้าดูการเรียนภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นม. 2 (เกรด 8 เทียบกับระบบการศึกษาอเมริกา) ซึ่งสอนโดยครูฝึกสอน
นี่เป็นครั้งแรกที่ผู้เขียนได้มีโอกาสรู้จักกับครูฝึกสอน ถือเป็นโอกาสอันดีที่ผู้เขียนมีโอกาสได้รู้ว่าเดี๋ยวนี้ครูฝึกสอนเหล่านี้ได้รับการถ่ายทอดวิชาความรู้มาอย่างไร ทั้งจากทางคณะศึกษาศาสตร์มหาวิทยาลัยเชียงใหม่และจากอาจารย์ผู้สอนที่โรงเรียนสาธิตซึ่งเป็นที่ปรึกษา

ครูฝึกสอนอายุ 22 ปี คุณพัชรา รับผิดชอบสอนนักเรียนในชั้นซึ่งมีทั้งหมด 44 คน คุณพัชราเป็นคนประเภทที่ผู้เขียนเรียกว่าเป็นคนมีไฟ เธอมีความมุ่งมั่นตั้งใจอย่างแรงกล้าที่จะเป็นครู ในการพูดคุยกันครั้งหนึ่งผู้เขียนถามเธว่าเคยคิดจะทำงานอย่างอื่นที่ไม่ใช่ครูหรือไม่ เธอตอบกลับอย่างไม่ลังเลว่าไม่
อาจารย์แบมบี้เป็นอาจารย์ที่ปรึกษาของคุณพัชรา ในมุมมองของผู้เขียนเห็นว่าวิธีการถ่ายทอดความรู้ระหว่างครูและนักเรียนของที่นี่ทำได้ดี แม้ยังมีบางส่วนเป็นลักษณะการเรียนแบบท่องจำอันเป็นวิธีการเรียนการสอนภาษาต่างประเทศในประเทศไทยมาช้านาน ซึ่งเป็นที่น่ากังวลนิดหน่อยว่าตัวนักเรียนจะเข้าใจจริงๆสักแค่ไหน

  คุณพัชรา ครูฝึกสอน

คุณพัชราเตรียมการสอนมาเป็นอย่างดี ในบทเรียนเรื่องประโยคเงื่อนไขทั้งสี่แบบ ในแต่ละแบบ เธอนำอนุกรมวิธานของบลูมมาปรับใช้ในการสอน คุณพัชราอธิบายบทเรียนนี้ผ่านเพลงฮิตของบียอนเซ่ “If I were a boy” (ถ้าฉันเป็นผู้ชาย) ซึ่งเนื้อเพลงมีประโยคเงื่อนไขหลายประโยคให้หยิบมาใช้เป็นตัวอย่างได้ รวมไปถึงชื่อเพลงเองด้วย

เมื่อจบการอธิบายความหมายคำคัพท์และแยกประโยคเงื่อนไขออกมาอธิบายแล้ว คุณพัชราจัดกิจกรรมการเรียนการสอนซึ่งมีทั้งการวิเคราะห์, การประยุกต์ใช้, ความเข้าใจและการจดจำ ซึ่งนักเรียนส่วนใหญ่ให้ความร่วมมือและเรียนรู้อย่างสนุกสนาน

สิ่งที่ผู้เขียนประทับใจคือ หลังคาบเรียน 50 นามีผ่านไปประมาณครึ่งทาง คุณพัชราแบ่งนักเรียนในชั้นออกเป็นสี่กลุ่มให้แต่ละกลุ่มสร้างคำถามของตัวเองในการตอบคำถามประโยคในเพลง

นักเรียนลงมือทำงานตามที่ได้รับมอบหมายทันที เสียงพูดคุยปรึกษาดังเซ็งแซ่ในห้องเรียน และคุณพัชราปล่อยให้มันเป็นเช่นนั้น จากประสบการณ์ของผู้เขียน ครูฝึกสอนส่วนใหญ่จะลังเลที่จะปล่อยให้มีการใช้เสียงดังในชั้นเรียน โดยลืมไปเด็กนักเรียนจะเกิดความเข้าใจในบทเรียนได้อย่างถ่องแท้โดยผ่านกระบวนการการเรียนรู้การทำงานเป็นกลุ่มและการมีส่วนร่วม

ก่อนหมดคาบ คุณพัชราให้แต่ละกลุ่มออกมาเขียนคำตอบของตนบนกระดานดำและอธิบายให้เพื่อนในชั้นฟัง ชั้นเรียนนี้ไม่มีบทบรรยายน่าเบื่อของครูกับเด็กหลับหลังห้องที่ผู้เขียนกลัวที่สุดปรากฏให้เห็น

โดยสรุปแล้วเป็นการสอนที่ประทับใจมาก ไม่น่าเชื่อว่าเป็นการสอนของครูฝึกสอน ข้อด้อยเดียวที่ผู้เขียนมองเห็นคือวิธีการที่ครูพูดประโยคตัวอย่างและนักเรียนพูดตาม เป็นภาพที่เราเคยเห็นมาตั้งแต่สมัยก่อน ที่การเรียนการสอนในโรงเรียนเน้นการท่องจำและนักเรียนมีความเข้าใจในเรื่องที่ตัวเองจำนั้นเพียงเล็กน้อย และยังคงมีให้เห็นในทั่วไปในชั้นเรียนของนักเรียนไทยในปัจจุบัน

ครูจากทั่วประเทศไทยมาที่โรงเรียนแห่งนี้เพื่อศึกษาเทกนิคการสอนจากโรงเรียนที่อาจอธิบายได้ว่าเป็นโรงเรียนต้นแบบด้านการพัฒนาครูและนำไปปรับใช้ที่โรงเรียนของตนเอง

Categories
Op Ed

Give Thai Teachers a Break

GIVE THAI TEACHERS A BREAK

by Peter J. Foley, Ed.D.

Give Thai teachers good teacher training; a decent salary; and good working conditions. Above all give teachers credit and rewards for the work they are doing day in and day out with their students .  Do this and Thailand will soar to the top of academic standing in Asia and the world instead of stagnating as evidenced from poor comparative scores of Thai students in math , science and English on the PISA exams.

Finland leads the world in academic standing.  Singapore is a leader in Asia.  They both attract students to become teachers who graduate in the upper third of their college graduating classes.  They meet all the criteria above.   Thailand has the money to do this too.  Thailand actually spends more of its GDP on education than Singapore does.  It is how the money is spent that is the touchstone.

Here is how the some of the money should be spent:

  1. Give the teachers the minimum salaries proposed of 15,000  baht.  Most teachers now are making only 8,000 baht , an unattractive salary for a college graduate;
  2. Identify the most outstanding teachers in each province and send them to other schools on weekends for special  in service teacher training sessions in low performing schools, especially those in the rural areas;
  3. Run a nation-wide competition for the  most outstanding teachers from each province and then pick one teacher for the elementary school  and one teacher for the secondary as the most outstanding public school  teachers in Thailand for that year. Make those two teachers that year’s ambassadors for education in Thailand ;
  4. Revamp the Ministry of Education web site so it becomes a central resource for teachers, both as a source of teacher training and new teaching opportunities.  The web site should be filled with project based and inquiry based lesson plans for each grade level and corresponds to the national curriculum. It also should house a video library of the best teachers shown in their classrooms using best practices;
  5. Identify the poorest performing schools and arrange for dynamic educational administrators to assist the school administrator  to turn the school around.
  6. Begin a Teach for Thailand program similar to that which was organized in America in order to attract the best and the brightest college graduates.  Offer these brightest of graduates a forgiveness of student loans for a three year teaching commitment in the rural school setting.

To get an idea of the kind of material that the M.O.E.  might post on its web site I would like our readers to refer to the blog of one of Asia’s finest teacher trainers from Singapore, Professor Yeap Ban Har.   Ban Har also serves on the SCLT board of editors.   I observed Professor Yeap in Singapore  giving a teacher training class. Professor Yeap personified inspiring,  elegant teaching. Please see:  http://banhar.blogspot.com

Thai teachers are responsible for educating the next generation of Thais.  Too often , far too often, we all forget just how important these educators are.  The short film , “Teddy’s Story”  is a poignant reminder of just how important teacher can and should be.  Please see: “Teddy’s Story”.ให้ครูไทยได้พักบ้าง

 

โดย Peter J. Foley, Ed.D.

ให้ครูไทยได้รับการฝึกอบรมอย่างเหมาะสม เงินเดือนที่เหมาะสมและสภาพการทำงานที่ดี สำคัญที่สุดให้กำลังใจและรางวัลสำหรับสิ่งที่พวกเขาทำเป็นประจำร่วมกับเด็กนักเรียน เพื่อให้ประเทศไทยได้ยกระดับสถานะทางการศึกษาของประเทศขึ้นมาทั้งในระดับภูมิภาคและเวทีโลกแทนการหยุดอยู่กับที่ เห็นได้จากคะแนนที่ตกต่ำในวิชาคณิตศาสตร์,วิทยาศาสตร์และภาษาอังกฤษของผลสอบวัดผลความสามารถทางวิชาการของนักเรียนไทยที่ผ่านมา

ฟินแลนด์เป็นประเทศที่มีสถานภาพทางการศึกษาเป็นอันดับหนึ่งของโลก ส่วนสิงคโปร์เป็นอันดับหนึ่งในเอเชีย ทั้งสองประเทศ ชักชวนนักศึกษาที่จบจากสถาบันการศึกษาชั้นแนวหน้าของประเทศให้เข้ามาเป็นครู ประเทศไทยเองก็สามารถทำเช่นนั้นได้เช่นกัน ในความเป็นจริง ไทยจัดสรรเงินงบประมาณให้กับการศึกษามากกว่าสิงคโปร์ สิ่งสำคัญคือเราจะใช้เงินนั้นอย่างไรให้เกิดประโยชน์ที่สุด

นี่เป็นตัวอย่างวิธีที่เราอาจลงทุน:

1. กำหนดเงินเดือนขั้นต่ำของครูให้อยู่ที่ 15,000 บาท เงินเดือนครูปัจจุบันส่วนมากจะอยู่ที่ 8,000 บาท ซึ่งเป็นจำนวนเงินที่ไม่ดึงดูดใจเอาเสียเลยสำหรับผู้จบการศึกษาในระดับปริญญา

2. คัดเลือกครูดีเด่นของแต่ละจังหวัดและส่งพวกเขาไปที่โรงเรียนแห่งอื่นๆช่วงสุดสัปดาห์เพื่อให้ช่วยเหลืออาจารย์ท่านอื่นๆในโรงเรียนที่ขาดแคลนหรือต้องการการพัฒนา โดยเฉพาะในพื้นที่ห่างไกล

3. เลือกครูดีเด่นระดับประถมและมัธยมจากครูดีเด่นทุกจังหวัดเป็นตัวแทนครูทั่วประเทศในแต่ละปี

4. ปรับปรุงเว็บไซต์ของกระทรวงศึกษาธิการให้เป็นศูนย์กลางแหล่งข้อมูลสำหรับครู ทั้งการอบรมครูและการรับสมัครในตำแหน่งต่างๆ ในเว็บไซต์ควรบรรจุข้อมูลพื้นฐานสำหรับโครงงานและแผนการสอนสำหรับนักเรียนแต่ละระดับชั้นที่สอดคล้องกับหลักสูตรการเรียนการสอน ยังอาจมีแหล่งข้อมูลสำหรับสื่อมัลติมีเดียการสอนของครูตัวอย่างเพื่อใช้เป็นแนวทางในการสอน

5. ปรับปรุงระบบการศึกษาของโรงเรียนที่ขาดแคลน

6. ปรับปรุงระบบการศึกษาของไทยให้เป็นระบบเดียวกับอเมริกา เพื่อดึงดูดนักศึกษาจบใหม่ที่มีผลการเรียนดี ยกเว้นค่าเล่าเรียนให้แก่นักศึกษาฝึกสอนที่ปฏิบัติหน้าที่ในพื้นที่ห่างไกลเป็นเวลาสามปี

สำหรับแนวคิดของเนื้อหาที่กระทรวงศึกษาธิการควรจะโพสต์ลงในเว็บไซต์ผู้เขียนอยากจะให้ผู้อ่านลองเข้าไปศึกษาในเว็บบล็อกของผู้อบรมการฝึกสอนที่ดีที่สุดคนหนึ่งของเอเชียจากสิงคโปร์ ที่ http://banhar.blogspot.com ศาสตราจารย์ Yeap Ban Har ศาตราจารย์เป็นหนึ่งในคณะบรรณาธิการของ SCLT ที่ผู้เขียนคิดว่าเขามีความสามารถมาก

ครูมีบทบาทเป็นผู้รับผิดชอบการศึกษาของประเทศชาติในอนาคต บ่อยครั้ง บ่อยครั้งมากที่เราทั้งหมดลืมเลือนความสำคัญของผู้ให้การศึกษาไป หนังสั้นเรื่อง “Teddy’s Story” ได้ให้ตัวอย่างไว้อย่างแสบสันต์ของความสำคัญที่ครูสามารถและควรเป็น อยากให้ลองดูกัน

Categories
articles

Inquiry into Science Inquiry

Inquiry into Science Inquiry

By John R. Stiles, Ph.D.

Science Education consultant

Bangkok

jsscience@yahoo.com

 

For at least the past three decades, what is now known as “Science Inquiry” has been the prevailing paradigm among science educators. However, acceptance from classroom science teachers, administrators, and university science instructors has been slow.

The U. S. National Science Education Standards first drafted in 1996 included science inquiry as one of its standards, underscoring the idea that inquiry is not only important in school science, but also fundamental:

“The Standards call for more than “science as process,” in which students learn such skills as observing, inferring, and experimenting. Inquiry is central to science learning. When engaging in inquiry, students describe objects and events, ask questions, construct explanations, test those explanations against current scientific knowledge, and communicate their ideas to others. They identify their assumptions, use critical and logical thinking, and consider alternative explanations. In this way, students actively develop their understanding of science by combining scientific knowledge with reasoning and thinking skills.

“The importance of inquiry does not imply that all teachers should pursue a single approach to teaching science. Just as inquiry has many different facets, so teachers need to use many different strategies to develop the understandings and abilities described in the Standards” (National Academies Press).

While traditional science textbooks have devoted but a single chapter to science inquiry, generally the introductory chapter (“What do scientists do?”), it was not necessarily encouraged as an integrated part of classroom science beyond the first week.  As the research base on science teaching and learning has evolved, even that introduction was revised, as such widely accepted, but mythological notions such as “The” Scientific Method needed to be re-thought (McComas, 1996). As early as the 1980’s, scientists also recognized that school science did not accurately reflect what science is, and joined science educators’ call for a redefining of teaching and learning. F. James Rutherford, science education pioneer, noted that teachers, particularly those in elementary levels, needed to be “re-educated” about the nature of science, and that science textbooks should be removed from the elementary schools because they “get in the way of good science instruction” (Rutherford, 1987). Rutherford echoed the position of other prominent science educators, such as Robert Yager, who in 1988 scolded school science instruction for rarely permitting students to investigate authentic scientific problems (Clough, 2000).

As science education research dramatically increased throughout the end of the 20th century, more and more, educators realized that school science was not reflecting the nature of science, which informs science education about what science is and how it works (Clough, 2000). Textbooks attempted to change their format to assimilate the shifting paradigm but with varying degrees of success. In short, the nature of science is not something easily read about, but rather something that needs to be experienced. As Colburn and Clough (1997) noted that in textbook science, “students are rarely mentally engaged in a meaningful manner.” Indeed, as Nobel prize-winning physicist Richard Feynman (1985) concluded after being asked to review a physics text, there was “no science” in it, “only memorization.”

Because of this shift in thinking about how and why school science needed to be more thoughtful regarding science teaching and learning, an evolution began of what classroom instruction should look like. Along with the development of the “Learning Cycle” strategy by Robert Karplus (1972), science educators gradually came to a consensus regarding what the research says about “science inquiry,” galvanized in five identified and widely recognized “Essential Features” (National Academy of Sciences, 2000). These five features and a short summary of each are as follows:

  1. The learner engages in scientifically oriented questions. The questions may come from one posed by the teacher, from students themselves, or from outside resources, such as a textbook, video or internet site.
  2. The learner gives priority to evidence in responding to questions. Students are given opportunity to explore ways to find credible evidence and gather data.
  3. The learner formulates explanations from evidence. Students discuss the evidence and give their own explanations regarding the findings.
  4. The learner connects explanations to scientific knowledge. Unlike traditional science instruction, students do not research information from experts until after formulating their own explanations. The “experts’ may be the classroom teacher, scientists, other science professionals, literary or electronic sources. The students then reconcile any differences between their findings and scientific explanations. This can be done in a variety of ways.
  5. The learner communicates and justifies explanations. Students report their findings, preferably in a public setting, either in class presentations or for a wider audience, such as to other classes, teachers, school-wide forums or conferences, or through self-publishing available to the school community or a wider audience via social platforms or other educational web sites.

The Essential Features are not necessarily required for all science instruction, nor are all five required in each investigation. However, science educators encourage teachers to use all five features at some point in their school year. Depending on how comfortable teachers and their students are with science inquiry, and the experience that both have had using science inquiry, there will be a wide range of science inquiry actually used in each classroom, and at different levels. The goal is to engage in scientific inquiry as often as possible at all levels of instruction when practical.

As in any endeavor, it is not enough to simply read about science inquiry and be able to implement it any more than it is possible to compose a song by reading a passage in a music book. Science inquiry, to be done correctly and effectively, takes time and requires practice, taking small steps. Some commercial science kits are available, such as FOSS (Full Option Science Systems), which are made to be used with an inquiry approach, and comes with teacher guides and videos that instruct how to set-up for investigations.

Also important is to understand what  misconceptions teachers have about science inqiry.  Here are just a few:

  • Myth #1: Inquiry Science is the teacher asking “recall” questions.

Answering rhetorical or simple yes-no types of questions does not require critical thinking skills.

  • Myth #2: Inquiry science involves students learning only facts of already acquired knowledge.

Although important, facts support the development of conceptual knowledge, but cannot, in isolation, possibly lead to understanding.

  • Myth #3: Inquiry science is learning science process skills.

While these skills are necessary, they alone do not result in student understanding of scientific concepts.

  • Myth #4: Inquiry science follows the “Scientific Method.”

Surprising to many science teachers, there is no such thing as the scientific method.

While scientists use many of these steps, they are not essential in science discovery.

Scientific discoveries occur using a variety of approaches, including accidental

discoveries.

  • Myth #5:  Inquiry science is “hands-on” or “discovery” science.

While using manipulatives or allowing students to independently explore are important

aspects of science investigation, they alone are insufficient for deep conceptual

understanding.

 

These and other myths of science inquiry teaching and learning often inhibit deep student

understanding of science concepts and content, as well as give a misrepresentation as to

what science is and what scientists do.

 

Thailand’s Science Standards English Version drafted in 2008 (B.E. 2551) include references to scientific inquiry in school science. Specifically, Standard Sc 8.1 states: “The student should be able to use the scientific process and scientific mind in investigation, solve problems, know that most natural phenomena have definite patterns explainable and verifiable within the limitations of data and instrumentation during the period of investigation, understand that science, technology and environment are interrelated” (Institute for the Promotion of teaching Science and Technology [IPST], 2008).

Although inquiry is not explicitly described, it is implied in the standard. When reviewing the indicators for Nature of Science in the Thai science standards (all grade levels), many of the Essential Features of Inquiry are present, such as:

  • Pose questions, based on scientific knowledge and understanding, own interests, or current issues, that can be investigated comprehensively and reliably.
  • Search and collect data
  • Analyse and interpret data
  • Record and explain results of an observation, investigation and additional research from various sources, in order to obtain reliable information
  • (O)ffering explanations, viewpoints, and results of scientific learning to the public

 

This year and next, Thailand is undergoing further review of its standards and benchmarks, as are many other countries. An outside team of science, math and technology experts from The U.S., U.K. and Australia will review and make recommendations to a team of educators from IPST. After gathering feedback from Thai teachers and administrators, a final revision will be made and recommendations sent to the Ministry of Education for approval sometime in mid-2012 (B.E. 2555).

 

 

References

 

Clough, M.P. (2000). The nature of science: Understanding how the game is played. EBSCO Clearinghouse; Sep/Oct, Vol 74 (1): 13-17. ISSN: 0009-8655. Accession number: 3537010, Professional Development Collection.

Colburn, A. & Clough, M.P. (1997). Implementing the Learning Cycle. The Science Teacher, 64 (5): 30-33.

Feynman, Richard P. (1985). Surely you’re joking Mr. Feynman! (Adventures of a curious character). New York: W.W. Norton & Company, Inc.

Institute for the Promotion of teaching Science and Technology (2008). The Basic Education Core Curriculum B.E. 2551; Science.

Karplus, R. (1972). SCIS: Three guidelines for elementary school science. Science Activities, 8 (1): 47-49.

McComas, W. (1996). Ten myths of science: Reexamining what we think we know…School Science & Mathematics, 96 (January) 10pp.

National Academy of Sciences (2000). Inquiry and the National Science Education Standards: A guide for teaching and learning. Washington, D.C.: National Academies Press.

National Academy of Sciences (1996). National Science Education Standards. Washington, D.C.: National Academies Press.

 

Categories
Op Ed Opinion:Thai education

Was the letter to the Nation Newspaper too Critical?

The original editorial in The Nation is included just below Dr. Foley’s letter to the editor.

The following letter was  submitted to letters to the editor of The Nation newspaper. The letter  was not published. 

Is it possible the Nation’s editors like criticism flowing only one way? 

 

To the editors:

Re:  “School System Lets our Young Talent Die on the Vine.” Nation editorial Sunday, October 9

Reading your editorial in the Nation , the reader  is compelled to ask: does the writer really care about Thai school children dying on the vine?   There is no mention of the huge disparity in wealth and educational resources between Bangkok  and the rest of the nation.   There is no mention that Thai students in the private and demonstration schools of Bangkok are not dying on the vine.  There is no mention of positive steps that can be taken in order to make a more level playing field in terms of education and opportunity in Thailand.

Instead, the editorial states that the quality of teachers and other problems have “their roots in politics.”   At this point the editorial itself turns into a political diatribe, slyly mentioning that since Thaksin became prime minister in 2001 there has been a crippling discontinuity in education policy.  Nowhere is there mention of the coup , mention of the Abhisit administration, or mention of the 1997 economic disaster that occurred during the Democratic Party watch.  Education Minister Woravat Auapinyaul is damned with faint praise and we are told he may lose his job.

It appears disingenuous ,too, to write that the failure to spot and develop good talent in education is a puzzle.Thailand is harnessed with a rigid hierarchical system where seniority rules the roost.  The Ministry of Education is no exception, nor are the local public schools.  Therefore, youthful talent is often suppressed by superiors, not nurtured .   This is a cultural obstruction, not a political one.

The last straw for me was the mention of the tablet PC as a political gimmick.  The tired old argument that the “educational mechanisms” aren’t ready for them is raised. Again , the editorial misses the real point.   The children are ready for the tablet PC.  This is the digital age.  Thai children are ready. Thai youth are ready.   Give them a chance.  Please!

Peter J. Foley, Ed.D.

http://www.SCLThailand.org

 

 

 

Categories
Op Ed Uncategorized

So,Why Not Give Tablet PC to All Thai Students

So, Why Not Give Computer Tablets to All Thai Students?
How can giving a tablet computer filled with educational software to help a child learn to read and do their numbers be wrong? How can it be bad pedagogy? Yet, there has been an avalanche criticism in the Thai press ever since the Pheu Thai Party announced the Yingluck government was initially spending three billion baht in 2012 to hand out tablet PCs to every Thai child attending grade 1.

Respected educators like Dilaka Lathapipat, Ph.D. have voiced objection to the plan in his column “Chalk Talk” in the The Nation September 12, 2011 edition. Dr. Dilaka cited a study he co-authored of the damage to students’ PISA test scores when they are from the student cohort that use computers to play games. Other educators have been even more forceful in opposing the plan. The Nation posted an article on July 11, 2011 entitled: “Top Academics Oppose Computer Tablets Plan”. The article cited Maitree Inprasitaha, dean of education at Khon Kaen University and Chainarong Indharameesup of Boyden Global Executive Search as against the distribution of the Tablet PCs to Thai school children. Professor Maitree specifically referred to a lack of e-books and learning software in her objections. In another article in The Nation dated September 3, 2011, Veena Thoopkrajae sums up her argument in her title: “ Tablets Cannot Cure the Cancer in Thai Education.”

The devil of course is in the details. And herein lie many of the opposition’s a priori arguments.
First, no one in the Yingluck government said the Tablet PC would be a cure all for Thai education.
Next, let’s take the major, more serious arguments against giving the tablets to the children one by one and examine their validity.

Let’s start with the arguments that include no high speed internet access to the rural areas; lack of e-books and educational software, lack of ability to prevent kids from planning computer games that are not educational; and a no one to fix or replace the tablets once they are distributed.
Critics appear to have forgotten the basic principle that when there is a need in the market place ,ingenuity and energy are created to make the new product or service. In the middle of September the Forth Corporation announced the first Thai made educational tablet computer priced at 3,000 baht—under the Chinese market price. The spokesman for the company, Mr. Sawat, said the company was motivated to create this lost cost tablet in order to compete for the sudden huge demand for a tablet PC as a result of the one child one tablet PC policy. Moreover, the announcement stated that controls on the tablet PC this Thai company created ensure that only appropriate content can be used. The Forth Corporation spokesman also said that,” 800,000 tablets at 3,000 baht each could jumpstart Thai-language content such as eBooks and learning games.” Imagine the cost savings when students have an opportunity to download many school books for a fraction of the price that is now being spent on hard cover books.

Having a Thai made tablet PC is a game changer too in that the repair of tablets can be done in Thailand, and repair contracts can be made between the Thai government and the Thai manufactures.

Ah, but the nay sayers shout: what about corruption. How are you going to prevent corruption? But that is a question the Thais must answer across the board. It is patently unfair to argue that there is corruption in Thai politics and government and therefore a particular program that benefits children should not go forward. I argue that at least every Thai child will suddenly have a valuable resource in hand, unlike many corrupt Thai government projects in the past that have been bridges and roads to nowhere.
Some critics remind us that the computer and learning software is only a tool not a solution. Indeed, and what a tool! This tool is revolutionizing the way business is done throughout the world and is essential to learn for the modern day workforce. What a gift to Thai children to get started learning this essential digital tool from grade one!

Nay sayers forget too that political and social pressure are how change happens. Giving rural youth and their parents access to a computer will produce tremendous pressure to make broad band access throughout the Kingdom a reality. My argument is that this program will be a catalyst to make changes so necessary if Thailand is to be competitive in the digital age of the 21st century, including the development of educational software for Thai children, the broadening of wide band internet access to rural areas and the training of teachers in computer applications.

In sum, the big pay off will be that Thais will learn from the onset of their schooling how to use the digital tools, tools that already are essential to possess for a competitive work force. In addition, having access to powerful software packages that will help student master basic skills in language and math holds the promise of not only of helping to raise Thai children’s mediocre international based test scores ( the PISA tests) but also narrowing the learning opportunity gap between the rich and the poor. The children of the rich , concentrated in Bangkok , already have a computer or computer access and internet access. What giving a tablet PC to every child along with learning software does is to make the playing field of learning opportunities more level for the rural poor.

I agree that there is much work to be done to make the Tablet PC program a success. What I find interesting is that critics , including some of my fellow educators, fail to see the flip side of the coin. If we introduce the exciting world of digital learning to Thais just starting school they will not grow up thinking that gaming and computers are synonymous. The nay-sayers counter argument assumes that students will be able to load such games in their computer. It also assumes that students will even be allowed to load such games.

Perhaps the most logical argument of the contrarians is that not enough research and planning has gone into making the tablet PC program for children to ensure success. However, many of these objectors have been studying this problem for years and still have not given us a cogent plan.
Let us get the process started. Give the computers to the children. Trust Thai ingenuity. Let Thai corporations like Forth solve the problems that arise. Learn by doing. Trust Thai teachers to rise to the challenge of the digital age. Stop standing guard for the status quo. Take risks. Work to give all Thais access to authentic learning.

 

By Peter J. Foley, Ed.D. http://www.SCLThailand.org

Categories
articles Featured Articles

Student Centered Learning: A Case for Integrated Learning Classroomsการเรียนรู้แบบนักเรียนเป็นศูนย์กลาง – กรณีศึกษาห้องเรียนการเรียนรู้แบบบูรณาการ


Ms Ellen Cornish and Dr Don W Jordan

Our classroom experience has shown us that the many benefits of moving away from rote learning to an integrated learning classroom, is that skills, values and understandings can best be taught and assessed within meaningful ‘connected’ contexts. Based on our understanding of students’ needs, interests, prior knowledge and experience, we planned a set of broad understandings to help frame our unit of work. These understandings – though specific to the topic – incorporated some of the    key concepts that students explore with increasing sophistication as they move through school.  The following is an example of what our classroom planning and teaching towards enhancing understanding in an integrated classroom looks like, sounds like, and feels like, together with a suggested unit of work on the human body, feel good feel great.

Integrated learning advantages teachers and students by:

·         Reflecting, more closely, the interdependence between all aspects of life in the real world

·         Challenging learners to use and develop their thinking as they work to make connections and see the ‘big picture’

·         Catering to the various learning styles and preferences held by students

·         Managing an increasing crowded curriculum

·         Meeting outcomes in context

·         Making more ‘sense’ to the school day – as activities have stronger links with each other

·         Providing students with a greater degree of control over learning

·         Encouraging staff to plan and work in teams

·         Structuring a meaningful context for the teaching and assessment of outcomes across key learning areas

·         Enabling students to transfer knowledge, skills and values across content and experiences

·         Skilling students to process and respond to experience in a range of ways

·         Linking purposes with activities more explicitly

·         Enriching understanding, enjoyment and reflection in teaching and learning.

The essence of this approach to planning is the relationship between those learning areas concerned with ‘the world around us’ (science, technology, health, and environmental and social education) and those areas through which we explore and come to understand that world (language, mathematics, art, drama, dance, music and aspects of technology.  Kath Murdoch (2003, P.1)

 

Creating an Integrated Classroom

 

An Integrated Classroom

Connects Prior Learning to New Learning

 

 

Fosters Reflective Practices

Makes Learning Meaningful

Recognises Individual Differences

Looks like

 

  • Teachers working / planning collaboratively.
  • Desks arranged in clusters of 4-6.
  • Activity centres with work space and resources.
  • Wall displays of student work and instructional material.
  • Comfortable reading space. (Cushions and books).

  • Smiling faces.

 

  • Tuning in activities using various graphic organisers e.g. what I know, what I would like to know etc.
  • Teacher assessment. (formative, summative).

 

  • Teacher and student created rubrics.
  • Students displaying their learning in a number of ways, e.g talking, writing, art, drama etc.

 

  • Relevant and up to date resources.

 

  • Adequate work spaces for students.
  • Curriculum relevant to student needs and interests.

 

  • Classroom program arranged to allow students to find space and resources. Allowing the teacher to give time and encouragement to students in order to demonstrate their learning across curriculum areas.
  • Learning program developed so that students can enter at their level and be extended and challenged.

Sounds like

 

  • Students discussing and helping each other.
  • The teacher interacting with individuals and groups.
  • Students confidently sharing their learning with the class through speaking, writing, drama, music, art.

 

 

 

 

 

 

  • Students being able to discuss their understandings and to make connections.

 

 

 

 

 

 

  • Students confidently explaining, discussing their learning with peers, teacher and parents.

 

 

 

 

  • Teacher making learning objectives clear.
  • Opportunities for students to takes risk in sharing their learning.

 

 

 

 

  • The sound of discussion between students and between students and teacher.
  • Students sharing the learning with peers, parents and teacher.

 

Feels like

  • Warm and safe to share confidently.
  • To ask questions and give opinions.
  • Inviting and feeling part of the group.

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

  • Warm and safe to share confidently.
  • To ask questions and give opinions.
  • Inviting and feeling part of the group.

 

 

 

  • Warm and safe to share confidently.
  • To ask questions and give opinions.
  • Inviting and feeling part of the group.

 

  • Students feeling confident to share their understandings with others.

 

 

 

 

 

 

  • Supportive environment so students feel comfortable to give thoughts and opinions.

 

 

 

 

 

 

 

 

References

Murdoch, K. (2003), Classroom Connections; Strategies for Classroom Learning. Australia: Publishing Solutions.

 

Glossary

Overarching Goals: Goals which overshadow the whole topic.

Tuning In: Finding out what the students already know about the topic, as well as what they would like to find out in order to stimulate their interest and enthusiasm for the topic.

Brainstorm: group discussion and sharing of ideas.

Guiding Questions: questions related to the topic which promote thought as well as refining the investigation to be undertaken.

Graphic Organiser: Charts which help visually organise information (there are many examples, including Y charts, T charts, fish bones, placemats, concept maps, flow charts etc. on the internet)

Rubrics: Teacher or student generated charts based on the topic being studied to assist with self-assessment.

Formative Assessment: Teacher assessment, as well as student self-assessment which can be demonstrated through drama, oral presentations, written material, information technology, art and craft etc.

Summative Assessment: System and school based testing.

Culmination: The final part of the topic where students demonstrate their understandings using a variety of methods including drama, information technology, oral presentations, written material, art and craft etc.

 

 

 

 

โดย Ellen Cornish  และ  Dr Don W Jordan

จากประสบการณ์ในชั้นเรียนของเราได้แสดงให้เราเห็นว่าประโยชน์ของการเปลี่ยนการเรียนการสอนจากแบบท่องจำ มาเป็นการเรียนแบบบูรณาการในชั้นเรียนนั้น ไม่ว่าจะเป็นด้านทักษะ ด้านคุณค่าแห่งการเรียนรู้ และความเข้าใจ ก็จะสามารถประเมินได้อย่างมีเหตุมีผล และ “เชื่องโยง” กับเนื้อหา ทั้งนี้การเรียนแบบนี้จะต้องขึ้นอยู่กับความเข้าใจในนักเรียนของเรา ทราบถึงความต้องการของนักเรียน ความสนใจ ประสบการณ์และความรู้เบื้องต้นที่นักเรียนมีมาเป็นพื้นฐาน เราจะต้องวางโครงร่างความเข้าใจเพื่อช่วยในการวางแผนการสอน ความเข้าใจนี้เป็นไปตามหัวข้อเรื่องที่จะเรียนแต่ประสานร่วมกับประเด็นสำคัญที่นักเรียนจะสามารถเปิดโลกทัศน์ได้ตามความสนใจของนักเรียน กรณีต่อไปนี้เป็นตัวอย่างที่ดีเกี่ยวกับการวางแผนห้องเรียนและวางแผนการสอน โดยเน้นและให้ความสำคัญกับความเข้าใจ ระบุให้เห็นว่าในการเรียนการสอนแบบบูรณาการควรจะมีหน้าตา ลักษณะอย่างไร พร้อมกันนั้นกรณีศึกษานี้ได้ให้แบบเสนอแนะเกี่ยวกับเรื่องอากับกิริยาของนักเรียน เมื่อรู้สึกใช่ รู้สึกดี ไว้ด้วย

การเรียนรู้แบบบูรณาการสามารถพัฒนาครูและนักเรียนได้จาก

·         การสะท้อนภาพให้เห็นอย่างชัดเจนขึ้น โดยคำนึกถึงแง่มุมต่างๆในชีวิตและในโลกความเป็นจริง

·         ท้าทายให้ผู้เรียนได้ใช้และพัฒนาทักษะการคิด ในขณะที่ผู้เรียนเรียนรู้เพื่อเชื่องโยงให้เห็น “ภาพรวม”

·         เหมาะสมกับผู้เรียนหลากหลายรูปแบบและสามารถจัดการเรียนรู้ได้ตามความชื่นชอบของนักเรียน

·         การจัดการหลักสูตรที่หนาแน่นขึ้นได้

·         บรรลุผลลัพธ์จากเนื้อหา

·         ชีวิตประจำวันในโรงเรียนดูมีความ ”เข้าท่า” มากขึ้น เนื่องจากกิจกรรมต่างๆ เชื่องโยงกันมากขึ้น

·         การให้นักเรียนสามารถควบคุมการเรียนรู้ของตัวเองได้มากขึ้น

·         สนับสนุนให้เจ้าหน้าที่ในโรงเรียนวางแผนและทำงานเป็นทีม

·         การจัดโครงสร้างเนื้อหาที่มีความสมเหตุสมผลสำหรับครูและการประเมินวัดผลของผลที่ได้รับกับพื้นที่การเรียนรู้ที่หลากหลาย

·         นักเรียนสามารถแลกเปลี่ยนความรู้ ทักษะและคุณค่าของความรู้จากเนื้อหาและประสบการณ์

·         สร้างทักษะนักเรียนให้พัฒนาและตอบสนองกับประสบการณ์ต่างๆ ได้หลากหลาย

·         เชื่องโยงวัตถุประสงค์กับกิจกรรมได้อย่างชัดเจนขึ้น

·        การเกิดความเข้าใจที่สมบูรณ์ รู้สึกสนุกและสามารถสะท้อนภาพการเรียนการสอนได้

หัวใจสำคัญในการวางแผนการสอนตามแนวทางนี้คือการจัดความสัมพันธ์ที่เชื่องโยงระหว่างสิ่งที่เกี่ยวข้องกับสิ่งที่เรียนกับ “โลกรอบตัวเรา” (วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี สาธารณสุข และสิ่งแวดล้อม และสังคมศึกษา) และพื้นที่อื่นๆ ที่เรามีส่วนเกี่ยวข้องหรือโลกที่เราต้องเข้าใจ (ภาษา คณิตศาสตร์ ศิลปะ ละคร ดนตรี และแง่มุมของเทคโนโลยี) Kath Murdoch (2003, P.1)

การสร้างชั้นเรียนแบบบูรณาการ

ชั้นเรียนแบบบูรณาการ

เชื่องต่อความรู้เดิมกับความรู้ใหม่

 

 

กระตุ้นให้เกิดการคิดแบบสะท้อน

ทำให้การเรียนรู้มีความหมาย

ตระหนักถึงข้อแตกต่างของแต่ละคน

มีลักษณะอย่างไร

 

  • ครูทำงานและวางแผนร่วมกับนักเรียน
  • จัดโต๊ะและเก้าอี้เป็นกลุ่มย่อย 4-6 โต๊ะ
  • ความสนใจมุ่งไปที่ชิ่นงานหรือแหล่งเรียนรู้
  • ผนังห้องโชร์ผลงานนักเรียนและสื่อเสนอให้เห็นโครงสร้างต่างๆ
  • มีพื้นที่การอ่านที่น่าใช้งาน (โชฟาและหนังสือต่างๆ)

 

  • หน้าตายิ้มแย้มแจ่มใส

 

  • ปรับเข้าสู่กิจกรรมหรือชิ้นงานด้วยวิธีการต่างๆ เช่น อะไรที่นักเรียนทราบแล้ว หรือ อะไรที่นักเรียนต้องการรู้

 

 

  • การประเมินจากครูแบบไม่เป็นทางการ และแบบสรุปความ
  • นักเรียนและครูสร้างโครงร่างระบบการเรียนรู้ร่วมกัน
  • นักเรียนแสดงออกว่ากำลังเรียนรู้ในหลากหลายวิธี เช่น พูด เขียน วาด หรือเล่นละคร

 

  • มีสื่อและแหล่งเรียนรู้ที่ทันสมัยและเหมาะสมกับเนื้อหา

 

  • นักเรียนมีพื้นที่ในการเรียนรู้และทำงานที่เหมาะสม
  • หลักสูตรเชื่องโยงและเกี่ยวข้องกับความต้องการและความสนใจของนักเรียน
  • การจัดการห้องเรียนอนุญาตให้นักเรียนสามารถหาแหล่งเรียนรู้ได้ อนุญาตให้ครูสามารถให้เวลากับนักเรียน และสามารถกระตุ้นให้นักเรียนแสดงออกถึงการเรียนรู้ของเขาในแง่มุมต่างๆ ของหลักสูตร
  • หลักสูตรการเรียนรู้ที่มีการพัฒนา เพื่อให้นักเรียนได้เรียนในระดับของตน และได้การท้าทายจากหลักสูตรในเวลาเหมาะสม

มีโสตสำเนียงอย่างไร

 

  • นักเรียนแสดงความคิดเห็นและช่วยเหลือกัน
  • ครูมีปฏิสัมพันธ์กับนักเรียนเป็นรายบบุคคลและเป็นกลุ่ม
  • นักเรียนมีความมั่นใจในการแลกเปลี่ยนความรู้ในห้องผ่านการพูด เขียน ร้องเพลงหรือเล่นละคร

 

 

 

 

 

 

  • นักเรียนสามารถถกเถียงความเข้าใจ แลกเปลี่ยนกันและสร้างความเชื่องโยงได้

 

 

 

 

 

 

  • นักเรียนมีความมั่นใจในการอธิบาย แลกเปลี่ยนความรู้กับเพื่อนร่วมชั้น ครูและผู้ปกครอง

 

 

 

 

  • ครูชี้แจงวัตถุประสงค์ในการเรียนรู้ที่ชัดเจน
  • เปิดโอกาสให้นักเรียนโต้เถียงและแสดงความเห็นต่างเพื่อแลกเปลี่ยนการเรียนรู้

 

 

 

 

  • มีเสียงการแลกเปลี่ยนระหว่างนักเรียน และระหว่างครูกับนักเรียน
  • นักเรียนแลกเปลี่ยนการเรียนรู้กับเพื่อ ครูและผู้ปกครอง

 

ให้ความรู้สึกอย่างไร

  • บรรยากาศที่อบอุ่น ปลอดภัยในการแลกเปลี่ยนอย่างมั่นใจ
  • มีการถามคำถามและให้ความคิดเห็น
  • เชื้อเชิญและรู้สึกเป็นส่วนหนึ่งของกลุ่ม

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

  • บรรยากาศที่อบอุ่น ปลอดภัยในการแลกเปลี่ยนอย่างมั่นใจ
  • มีการถามคำถามและให้ความคิดเห็น
  • เชื้อเชิญและรู้สึกเป็นส่วนหนึ่งของกลุ่ม

 

 

 

  • บรรยากาศที่อบอุ่น ปลอดภัยในการแลกเปลี่ยนอย่างมั่นใจ
  • มีการถามคำถามและให้ความคิดเห็น
  • เชื้อเชิญและรู้สึกเป็นส่วนหนึ่งของกลุ่ม

 

 

  • นักเรียนรู้สึกมั่นใจในการแลกเปลี่ยนความเข้าใจของตนกับคนอื่น

 

 

 

 

 

 

 

 

  • บรรยากาศที่สนับสนุน ให้นักเรียนรู้สึกสบายในการแสดงความคิดและเสนอความคิดเห็น

 

 

 

 

 

 

 

 

หนังสืออ้างอิง

Murdoch, K. (2003), Classroom Connections; Strategies for Classroom Learning. Australia: Publishing Solutions.

 

อภิธานศัพท์

เป้าหมายครอบคลุม (Overarching Goals): เป้าหมายที่ครอบคลุมหัวข้อทั้งหมด

ปรับเข้าสู่บรรยากาศ  (Tuning In): ค้นหาว่านักเรียนรู้อะไรอยู่แล้วในหัวข้อนี้ ในขณะเดียวกันค้นหาว่านักเรียนต้องการอยากรู้อะไร เพื่อกระตุ้นให้นักเรียนสนใจและมีความกระตือรือร้นกับหัวข้อนั้น

ระดมสมอง (Brainstorm): การแลกเปลี่ยนในกลุ่มและวิพากท์เพื่อให้ได้ความคิดที่หลากหลาย

คำถามเชิงชี้แนะ (Guiding Questions): คำถามที่เกียวกับหัวข้อที่เรียนรู้ ที่ชี้แนะหรือสนับสนุนให้เกิดการคิด ค้นหา และการมีส่วนร่วมในการเรียนรู้

สื่อเสนอให้เห็นโครงสร้าง (Graphic Organiser): สื่อหรือกราฟหรือภาพประกอบที่ช่วยให้นักเรียนเห็นการจัดการเชิงรูปธรรม เช่น กราฟตัววาย Y กราฟตัวที T กราฟก้างปลา แผนที่โครงสร้าง ผังการจัดการ สิ่งเหล่าหาได้ไม่ยากในอินเตอร์เน็ท

โครงร่างระบบการเรียนรู้แบบรูบิค  (Rubrics): ครูหรือนักเรียนสร้างโครงร่างการเรียนรู้จากหัวข้อที่กำลังเรียนอยู่เพื่อช่วยประเมินตัวเองในกระบวนการเรียนรู้

การประเมินอย่างไม่เป็นทางการ (Formative Assessment): การประเมินผลของครูและนักเรียนในการประมเนตนเอง ที่สามารถทำได้โดยผ่านการแสดงออกเช่น การเล่นละคร การนำเสนอหน้าห้อง การผลิตงานเขียน หรืการใช้สื่อเทคโนโลยี รวมทั้งผ่านงานศิลปะต่างๆ

การประเมินแบบสรุปความ (Summative Assessment): การทดสอบโดยยึดระบบและตามกรอบของโรงเรียน

ประเด็นสำคัญที่สุด (Culmination): ส่วนสุดท้ายของหัวข้อที่นักเรียนจะแสดงออกถึงความเข้าใจของตัวเองโดยผ่านวิธีการต่างๆ เช่น การเล่นละคร การนำเสนอหน้าห้อง การผลิตงานเขียน หรืการใช้สื่อเทคโนโลยี รวมทั้งผ่านงานศิลปะต่างๆ

 

 

 


Categories
Pathway Schools

Prasarnmit Demonstration Secondary School

 

 

Main Secondary School Building

According  to a report issued by the  Asian Development Bank in 2008 , Thailand has 16 demonstration schools.   Universities offering degrees in education established these schools to act as models of best practices for schools throughout the Kingdom of Thailand.  Demonstration schools are intended to foster creativity and self confidence in its students.

And this is what I discovered upon visiting the Prasarnmit Secondary Demonstration School:creativity and  self –confidence being fostered  in the students .  I spent most of the afternoon of   August 8, 2011 at the school,  located  in Bangkok at the end of  Sukhumvit  Road ,Soi 23.  The school  is in the campus of Srinakharinwirot  University.  The student body I was told numbers 2,000  students.  It was established in 1952. Students must take a  competitive school entrance exam .  The result is a school full of gifted students.   Can this school that also attracts gifted teachers be a model for other Thai schools?


Cafeteria at Lunch Time

I was able to visit the school thanks to the kind offices of Ajaan Rossana .  Active learning is alive and well in Thailand, at least at the Prasarnmit Secondary School .  I wandered for about an hour and a half  in the music section of the school peering into practice rooms and classrooms.  What I saw everywhere were  students practicing together and sharing insights in how to become better.  The students in the practice rooms were clearly self –directed.  I talked with a half a dozen students and all had a good command of English and showed self confidence and maturity beyond their ages.


Active Self Directed Learning

 

I also observed classes where the music teacher acted as a coach , encouraging and helping students in their musical performances.    The confidence being built in each youngster as they performed was clear.

And an authentic assessment of the students’ work was easy .  The students in the singing class had progressed to the point where the three students I saw performing were already stage ready.

Singing Class

I was also able to observe an English language class.  Again, there  were many signs of a student centered learning environment.   Ajaan Rossana and I observed the class for the 50 minute period. There were thirty –three  students in this class of 15 year olds.   Ajaan Kob was the instructor.  The lesson she had prepared  was the use of the present and past perfect tenses: not an easy lesson to teach.

Nonetheless,  Ajaan Kob engaged the interest of the students for the whole period.  She  displayed best practices throughout the lesson.  She used different techniques and approaches to teach the lesson every 10 to 15 minutes to avoid losing the attention of her teenage students and to appeal to the different learning styles of her students, particularly aural and visual learners.   She spent the first ten minutes explaining  how to use  the present and past perfect tenses and making  sure to give the students examples that they could see clearly  on the blackboard.

Ajaan Kob’s English Class

She then switched to large visual cue  cards where she had prepared written examples of both tenses and asked students to identify the example she held up  on her cards.

Once she was confident that the class understood how the tenses were used ,  Ajaan Kob introduced the game Bingo modified to use the past perfect  tense verbs she had presented.  The game was fun and it was clear the whole class was intent  in putting the correct verbs and  verb tenses  in the Bingo spaces in order  to be the first to call out “Bingo”.

Throughout the class , Ajaan Kob  engaged the students by asking them to answer questions and to explain their understanding of the concept of the tenses.  She never raised her voice and she smiled often.   She posed questions and waited patiently for student responses.  An interesting aspect of Ajaan Kob’s  class was that after each 10 or 15 minute segment of her lesson delivery she would say to the students:”  O.K.  everyone sit up straight and get your back against the chair.”  The class would assume a good seating posture.  It was like preparing the students to  refocus as she switched to a new segment in her carefully played out lesson plan.

As I was leaving the school  ,  I told Ajaan Rossana that I was impressed with the encouragement Ajaan Kob gave to her students and the fact that she never raised her voice and was constantly friendly throughout the class.  I asked Ajaan Rossana if this was just Ajaan Kob’s way of conducting the class or was it wide-spread throughout the school.   Ajaan Rossana said that a demonstration school tries to promote teachers being friendly and encouraging to the students. ” This is a culture we actively try to promote at Satit Prasarnmit”, she told me.  “You will see this friendliness to students throughout Prasarnmit.”

Ajaan Rossana

“ Do you think this culture of engaging the students in a friendly and encouraging way is spreading to other public schools in Thailand?” , I asked.  “ Not as much as we would like”, was her rely.

I suspect that Thai public school administrators in the rural areas of Thailand find little in common with the Prasarnmit School which has facilities and teachers that are rarely found  in a regular schools.   Rural teachers certainly could learn best practices by observing the teachers at Prasarnmit.  But can this be done on a large scale?

 

 

  

 

Main Secondary School Building

According  to a report issued by the  Asian Development Bank in 2008 , Thailand has 16 demonstration schools.   Universities offering degrees in education established these schools to act as models of best practices for schools throughout the Kingdom of Thailand.  Demonstration schools are intended to foster creativity and self confidence in its students.

And this is what I discovered upon visiting the Prasarnmit Secondary Demonstration School:creativity and  self –confidence being fostered  in the students .  I spent most of the afternoon of   August 8, 2011 at the school,  located  in Bangkok at the end of  Sukhumvit  Road ,Soi 23.  The school  is in the campus of Srinakharinwirot  University.  The student body I was told numbers close to 4,000 students.  It was established in 1952. Students must take a  competitive school entrance exam .  The result is a school full of gifted students.   Can this school that also attracts gifted teachers be a model for other Thai schools?


Cafeteria at Lunch Time

I was able to visit the school thanks to the kind offices of Ajaan Rossana .  Active learning is alive and well in Thailand, at least at the Prasarnmit Secondary School .  I wandered for about an hour and a half  in the music section of the school peering into practice rooms and classrooms.  What I saw everywhere were  students practicing together and sharing insights in how to become better.  The students in the practice rooms were clearly self –directed.  I talked with a half a dozen students and all had a good command of English and showed self confidence and maturity beyond their ages.


Active Self Directed Learning

 

I also observed classes where the music teacher acted as a coach , encouraging and helping students in their musical performances.    The confidence being built in each youngster as they performed was clear.

And an authentic assessment of the students’ work was easy .  The students in the singing class had progressed to the point where the three students I saw performing were already stage ready.

Singing Class

I was also able to observe an English language class.  Again, there  were many signs of a student centered learning environment.   Ajaan Rossana and I observed the class for the 50 minute period. There were thirty –three  students in this class of 15 year olds.   Ajaan Kob was the instructor.  The lesson she had prepared  was the use of the present and past perfect tenses: not an easy lesson to teach.

Nonetheless,  Ajaan Kob engaged the interest of the students for the whole period.  She  displayed best practices throughout the lesson.  She used different techniques and approaches to teach the lesson every 10 to 15 minutes to avoid losing the attention of her teenage students and to appeal to the different learning styles of her students, particularly aural and visual learners.   She spent the first ten minutes explaining  how to use  the present and past perfect tenses and making  sure to give the students examples that they could see clearly  on the blackboard.

Ajaan Kob’s English Class

She then switched to large visual cue  cards where she had prepared written examples of both tenses and asked students to identify the example she held up  on her cards.

Once she was confident that the class understood how the tenses were used ,  Ajaan Kob introduced the game Bingo modified to use the past perfect  tense verbs she had presented.  The game was fun and it was clear the whole class was intent  in putting the correct verbs and  verb tenses  in the Bingo spaces in order  to be the first to call out “Bingo”.

Throughout the class , Ajaan Kob  engaged the students by asking them to answer questions and to explain their understanding of the concept of the tenses.  She never raised her voice and she smiled often.   She posed questions and waited patiently for student responses.  An interesting aspect of Ajaan Kob’s  class was that after each 10 or 15 minute segment of her lesson delivery she would say to the students:”  O.K.  everyone sit up straight and get your back against the chair.”  The class would assume a good seating posture.  It was like preparing the students to  refocus as she switched to a new segment in her carefully played out lesson plan.

As I was leaving the school  ,  I told Ajaan Rossana that I was impressed with the encouragement Ajaan Kob gave to her students and the fact that she never raised her voice and was constantly friendly throughout the class.  I asked Ajaan Rossana if this was just Ajaan Kob’s way of conducting the class or was it wide-spread throughout the school.   Ajaan Rossana said that a demonstration school tries to promote teachers being friendly and encouraging to the students. ” This is a culture we actively try to promote at Satit Prasarnmit”, she told me.  “You will see this friendliness to students throughout Prasarnmit.”

Ajaan Rossana

“ Do you think this culture of engaging the students in a friendly and encouraging way is spreading to other public schools in Thailand?” , I asked.  “ Not as much as we would like”, was her rely.

I suspect that Thai public school administrators in the rural areas of Thailand find little in common with the Prasarnmit School which has facilities and teachers that are rarely found  in a regular schools.   Rural teachers certainly could learn best practices by observing the teachers at Prasarnmit.  But can this be done on a large scale?

 

 

 

Categories
Op Ed Opinion:World Education

Education of the Future:Word of Caution

Discovery Learning and Individualized Teaching: The Vision of Schools for Life

by Jurgen Zimmer, Ph.D.

Some schools can be heard from far off: the teacher loudly speaks phrases, the whole class answers as one. Old-fashioned schools of this kind are to a large degree products of the colonial era, their classroom teaching methods still reflecting the spirit of the 19th and early 20th centuries. Teachers concentrate on covering each small portion of the fixed curriculum, and try not only to tame the horde of young lions in the class, but also bring them all to do the same thing at the same time. The style of mechanical learning employed is the most unsuitable conceivable for making sense of interrelationships, retaining what one has learned (even after the next exam), and applying knowledge gained. This is where a disastrous vicious circle of dequalification must be broken: insufficiently trained teachers behave like slaves to a detailed prescribed curriculum and force their students to reduce the great diversity of learning and experience down to the learning of textbooks by heart. When this mechanical system, which clearly contradicts the fundamental discoveries of modern learning theories, is then further underpinned by frequent tests and exams, one could even maintain that such a school is in the position of actually mutilating the qualifying potential of the next generation. Good test results achieved within this mechanism reveal very little about the ability to retain what one has learned, or creatively apply it in any given real situation.

Frontal class teaching will hopefully be a seldom occurrence in the Schools for Life. Instead, relying on the knowledge gained in modern learning theory, a researching, discovering, active kind of learning is favored. Learning will take place individually or in small teams, and the biography and learning background of every child will be taken into account. In contrast to repetitive learning which takes place within parameters of false security (where problem presentation, solution route, and solution itself are always already known beforehand), here the learning processes are of a much more open nature. Naturally there will still be some ‘right’ and ‘wrong’ answers. But in real-life situations there are often a number of different options which have to be compared and considered before making a decision. In any case, learning in connection with entrepreneurship also means learning how to think strategically while dealing with uncertainties, practicing to take calculated risks.

There is a veritable arsenal of teaching methods and forms of pedagogical organization that serve these goals: teaching in small groups, learning and acting in projects, open or informal education, orienting the time frame to the task at hand and the current project (and not the other way around), team teaching, mixed-aged groups and cross-generational learning (where it makes sense to do so). Classrooms can be transformed into learning workshops.

At the same time, the limits of traditional school spaces will be dissolved: all the students will work with laptops and personal computers, and be able to communicate directly with teachers and other students electronically. Everyone will have access to libraries all over the world. In this interactive learning development, the concept of “classroom” will surpass the traditional classroom. In developing their projects, students will also be able to make use of multimedia designs, computer assisted drafting, the information highway, and graphic and desktop publishing tools.

Categories
articles Featured Articles

Student-Centered Learning: Demystifying the Mythการเรียนแบบนักเรียนเป็นศูนย์กลาง : ทำความเข้าใจตำนานอย่างลึกซื้ง


OUR FEATURE ARTICLE FOR JULY 2011:

STUDENT-CENTERED LEARNING:

DEMYSTIFYING THE MYTH

Chutima Thamraksa


Teacher-centered or teacher-direct orientation has long been the focus of education in Thailand. This approach has placed an emphasis on rote learning or memorization rather than developing the thinking skills of learners. The drawback of the system is seen through the passive and dependent learners, who lack the skills to think critically and creatively. Recognizing this major drawback, the Ministry of Education has initiated a major  reform of the system—from the traditional teacher-centered to a student-centered approach—with the intention of producing competent, independent and life-long learners who can keep pace with global competition. However, due to the several changes that have occurred as a result of the implementation of this student-centered approach,  it leaves a number of teachers perplexed about their roles and the teaching pedagogy. This article attempts to unfold the puzzle by first giving a definition of the term and later on examining several aspects pertinent to the approach.

Introduction

The issue of student- or child-centered learning has been an explosion of interest among educators and school/college teachers in recent years. In fact, the term was not much recognized until the Thai National Education Act 1999 made it the key concept in the reform of education. This new approach, it is hoped, will maximize the potential of Thai people to cope with the increasing demands of the knowledge based economy and the world of  information and communication technology.

Even with this interest, however, there arises much confusion and mistrust of the pedagogical movement behind the new model. Some teachers view it as a threat to their long-time teacher-centered or teacher-front orientation, while some fear that the approach will lessen the significant role they play in class, i.e., as the importer of page 60 SLLT 2003 knowledge. Likewise, some students become sullen and hostile to this approach as can be seen from the remarks that were recently reported in the newspapers that “the child-centered approach is like ‘khwai’-centered approach.” Literally, the term ‘khwai’ in Thai refers to a large cow used to draw plows for farmers. When used in reference to people or ideas, it implies that the compared people or ideas are witless. By describing the child-centered approach as ‘khwai’-centered approach, it can be inferred that the approach is a disappointment; it does not help students to become  smarter but rather impedes their progress.  Such a criticism clearly  reflects the failure, not of the approach per se, but of the teachers’ misinterpretation, misuse and abuse of the concept.

Despite a substantial body of literature on student-centered learning, the majority of teachers, it can be said, are still skeptical of whether the approach can really enhance student learning quality. Much worse, teachers are uncertain of how and what they should do to implement the approach. A number of questions regarding the feasibility, viability and applicability of this teaching model are raised widely in the teaching community. As such, this paper will attempt to clarify and analyze the principles and aspects of student-centered learning through the most frequently asked questions in terms of this issue.

What Is Student-centered Learning?

Simply put, student-centered  learning is a model wherein students are placed in the core of the learning process. As such, students’ needs, opinions, backgrounds, and goals are acknowledged and incorporated within the learning environment. In this model, teachers are guided by what is best for the students when helping them to learn or make decisions.

The concept of student-centered learning is derived from several models. It first evolves out of the constructivist learning theory which asserts that knowledge is constructed uniquely and individually in multiple ways (Vygotsky, 1978, cited in Bush & Saye, 2000). It also derives from the experiential model in which teaching is seen as transformation of existing knowledge (Kohonen, 1992) and the active learning model which suggests that all learning activities involve some kind of experience or some kind of dialog such as dialog with self and dialog with others (Fink, 2002).SLLT 2003 page 61

What Are the Characteristics of Student-Centered Learning?

On the basis of the models from which it derives, studentcenteredness entails these characteristics:

• The focus is on active learning, using an integrated approach to connect new learning to prior learning, stimulating interest and relevance, providing student  choice and control, adapting to individual developmental differences, and providing a caring and supportive learning environment (Bansberg, 2003).

• Knowledge is constructed through authentic learning. It is learnt in a real context or the context in which it was first generated. In other words, it links school learning experiences to real world situations.

• Students are active participants in the learning process rather than passive recipients. They have opportunities and increased responsibilities to identify and self-direct their own learning needs, locate learning resources, and construct their own knowledge based on those needs.

• Class activities and project work are arranged differently to allow learners a variety of choices to select according to the needs of each student. This results from the notion that students have different capabilities and  preferences for learning modes and strategies.

• A learning environment, where learning may take place anywhere, at any time, in many forms and by diverse means, is created. Such a learning environment enables students to be responsible for and involved in their education. As such, students are provided with  substantive out-of-classroom activities that increase students’ learning in a number of dimensions.

• Students are motivated more intrinsically (self-motivation) than extrinsically (external motivation). Simply put, students are motivated from within not from without. For example, they type a written assignment because they take pride in their work not because they want people to admire or approve of it.page 62 SLLT 2003

Why Switch to this New Model?

What Is the Problem with the Traditional Method?

To answer these questions, we need to look back to analyze the nature of the traditional teacher-centered approach, and its outcome on learners to see why a student-centered approach should be promoted as an alternative.

The teacher-centered approach, influenced by the transmission model,  affirms that knowledge is something that can be transmitted from teachers to students, like a two-dimensional learning of teacher to student instruction.  In a classroom, a teacher is the person in authority whose job is to impart knowledge and skills, evaluate and correct the learners’ performance according to the criteria he/she has set. The students are relatively passive recipients of knowledge, and expect the teacher to be totally in charge of their learning.

As such, the typical pattern of classroom interaction in this transmission model is IRE—teacher Initiation, student Response, and teacher Evaluation (Mehan,1979). In the IRE pattern,  teachers are always at the front of the room, providing knowledge, asking students to demonstrate knowledge previously taught, and evaluating the students’ responses and performance.

This teacher-centered practice is deeply rooted in Thai society, wherein “hierarchy” lies as a central value. Since Thais place an emphasis on the vertical respect relation and submission to authority (Williams, 1980), teachers, who have a much higher status than students, are regarded as the second parents whose mission is not only to impart knowledge but to teach morals and mold the students to be good citizens in society as well. The image that is generally assigned to a teacher is that of a “righteous guru” who possesses great knowledge. As such, it goes without saying that in the learning process, the teacher, not the learner, is placed right in the center.

In view of these two factors, the hierarchical pattern of society and the transmission model of education, we can understand more clearly why Thai teachers need to maintain their “righteous guru” image through the use of teacher-front orientation and the IRE pattern.

Unfortunately, however, such teaching practice has a major downside, for it has shaped learners to be passive recipients who merely listen, memorize, and absorb the information transferred  by the guru rather than to initiate or negotiate the outcome of the learning process. Students are not trained  to exercise their analytical, critical, and reflective thinking. Much worse,  this education system does not (SLLT 2003 page 63) prompt students to become independent learners who recognize that knowledge is constructed in many ways, see the value of learning, realize that learning is a life-long process, and understand that there’s no one else but themselves be responsible for their own learning.

To keep abreast with the rapidly changing world of information and the economy that requires critical thinking, we need to empower the students. We need to enable them to think critically and independently, and be responsible for and involved in their learning. Students need to be self-directed  and become active players in the academic learning enterprise. On all these accounts, it is time to advance from two-dimensional teacher-to-student instruction to  three dimensional student-centered learning where students and teachers are involved in project work. According to Watanabe (1999), the latter can “allow for a depth in the learning process through the students and teachers active participation in the learning process—a participation that allows for an unlimited amount of creativity” (p. 1).

How Can Student-centered Learning be Implemented?

As mentioned earlier, the teacher-centered model has long been the focus of our education system. Therefore, in an attempt to implement the student-centered approach, the first thing that needs to be done is to re-conceptualize teaching and learning. The traditional concept—that emphasizes knowledge  as the object to be transmitted, teaching as the presentation of knowledge, and learning as its absorption—must all be reformed. We need to implement a new conception that views knowledge as something that can be constructed, teaching as a means to provide an environment that is most conducive to learning, and learning as the process of learning how to learn. Based on the new concept, teachers and students need to modify their new roles to fit the learning process. These can be outlined as follows:

The Role of a Teacher

The teacher’s role, in a student-centered classroom, is much more crucial and valuable than that of the teacher-centered orientation.

Teachers need to:

• Change from the role of authority and presumed expert who possesses all knowledge to become a facilitator who provides apage 64 SLLT 2003 setting in which the students can play an active and inquiring role in their own learning.

• Create a learning environment that stimulates and challenges learners, fosters critical thinking and the process of knowledge construction. For example, teachers can enhance the thinking skills of learners through doing  such activities  as reasoning, decision making, reflecting, making inferences and problem solving. These types of activities encourage students to engage cognitively and emotionally with the learning tasks. The latter activity, especially, can be done by building an environment that allows students to examine complex problems using a wide variety of resources, develop their own strategies for addressing these problems, and present and negotiate solutions to these problems in a collaborative manner.

• Promote collaborative learning. Collaboration among students is an integral component of  the student-centered approach. Working as a team, according to Kohonen (1992), can create a positive interdependence and individual accountability among learners as each member attempts to contribute to the team product and thus is in charge  of helping his/her teammates to learn. Collaboration can also foster learners’ growth, develop social and learning skills, and  help them construct their own knowledge through engaging in the exchange of ideas.

• Recognize the individual differences in approaches to learning. Teachers should set multiple tasks and give choices to learners to select and sequence their own activities independently.

• Reinforce the idea that the source of knowledge is not confined within the walls of a classroom, but may also be discovered outside. Some examples of sources of knowledge include: parents, elders, libraries, museums, historical sites, authentic materials, and the Internet.

• Utilize “authentic assessment” (“Authentic Assessment,” 2001)—one that examines a student’s collective abilities, criterion-referenced, and performance-based—rather than standardized assessment.

• Draw from different disciplines to integrate learning experiences and more importantly, use team teaching toSLLT 2003 page 65 achieve integrated learning outcomes. For example, teachers with different expertise like tourism and biology, working together, can bring together the concepts in different subjects to teach generally about the environment.

• Draw upon the relation between the students’ prior knowledge and experiences to the new learning. This is based on the notion that the learning experiences that relate to the students’ personal knowledge and experiences are the most easily learnt and often the most difficult to forget.

The Role of a Student

In a similar vein, students play a significant role in the learningprocess. They no longer view themselves as empty vessels waiting to be filled. Instead, they need to:

• Change from the old belief “knowledge is to be transmitted by teachers” to the new understanding “knowledge is to be constructed,” and be aware that students are responsible for constructing their own personal knowledge.

• Change from merely being passive recipients to taking part as active participants who are engaged in all aspects and activities of their learning (both cognitively and physically) that are generally the duty of the teacher in most traditional learning activities.

• Set meaningful goals for completing the learning activity, assume more responsibility for meeting those goals, and monitor their progress in order  to determine if the strategies they are using to accomplish their goals are effective (Glassglow, 1997).

Is the Use of Technology an Integral Component in Student-Centered Learning?

There is no doubt that in the 21st century technology is increasingly important. Not only does it affect the way we live, the way we conduct business, the way we communicate with one another, but also the way we teach and  learn. According to Tsang-Kosma (2003), the business world demands  that schools prepare graduates who are skilled at working in teams, can effectively solve problems,page 66 SLLT 2003 are able to process and apply information, and more importantly, can use technology effectively in order to maximize productivity. As such, the challenges and educational  goals for schools should focus on creating the learning environment that incorporates technology as well as fosters the skills necessary to empower students. If integrated properly, technology such as audio, dynamic visual formats, computers, and the Internet, will  enrich the learning environment by using them effectively as a medium of instruction or a tool to enhance student learning. Some merits of technology, as outlined by NCREL (2003) are highlighted here:

• Technology can change the learning context from teachercentered to learner-centered activities, giving students more control of content, creating  a more collaborative learning environment, and providing different ways of accessing information and communicating with people. Many interactive software programs can lend themselves well to learnercentered instructional approaches.

• Technology provides hands-on, minds-on activities—those that engage students’ physical as well as mental skills to solve problems. The activities can increase students’ fluency with given content, strengthen basic skills, help students acquire higher-level proficiencies, increase the relevancy of instruction to students’ lives, provide interactive feedback about their performance, and most of all, motivate students. For example, the use of electronic books, often on CD-ROM, can turn reading from a static, print-based activity into an exciting, interactive experience.

• Technology, particularly the Internet, is a tool well-suited to learning. It provides an ideal learning environment that allows anyone to learn by doing, to  receive feedback, to refine understanding, to build new  knowledge, and to reflect (“Preparing Tomorrow’s Teachers,” 2003). What Difficulties Can Arise in the Implementation of Student-Centered Learning? The difficulties that may arise from implementing this innovative model include: SLLT 2003 page 67

• Some teachers resist changing  their old beliefs and usual teaching practices. Such  resistance may occur from the deeply rooted “righteous guru” or  “imparter of knowledge” image fixed in their head. These teachers view themselves as the authorities whose mission is to teach, direct, instruct, and control students. Therefore, they may fear doing things differently; they may see the change as a threat to their status and profession.

• A number of teachers are not willing to implement the approach, for they perceive that the way they teach is already the best and thus there is no  need to change. Since these teachers opt to use only one way or method that they feel works best, they are not open to new ideas or other possibilities.

• Some teachers are in a rush to implement the approach without a thorough understanding of the principles and a careful plan of teaching. These teachers are too eager to make changes and do not take into consideration the  culture and realities of their classroom situation.

• Some teachers lack the knowledge and skills to incorporate technology into their own teaching. Unfortunately, many teachers know very little about computers and are not interested in learning; while others may try to seek new uses for technology in the classroom but do not have sufficient technical support. These teachers see the value of technology but they feel frustrated because they are not trained to use these resources in the classroom setting.

• It may be the case that while many teachers are personally committed to serving students’ needs, the structure of their organization and policies may  not accommodate or, in some cases, hinder the desire to be more student-centered.

• Some students reject the approach because they want evidence that they are being taught something. These students, like some teachers cling to the perception that knowledge must be transferred and thus wait for teachers to spoonfeed them.page 68 SLLT 2003

What Results Can be Indicative of Success in the Implementation of Student-Centered Approach?

The ultimate goal of student-centered learning is to produce self-directed, lifelong learners. This means that teaching can facilitate students to move from dependency toward autonomy. The success of the implementation of such an approach can be examined from the stages of student development below: (“Steps Toward,” 1996)

Stage One: Dependent Learners

Learners, at this very first stage, are dependent on teachers— authorities who impart knowledge, give explicit instructions on what to do, how and when to do it. To students, learning is teacher-centered. Students are not given an opportunity to make choices or exercise control over their learning.

Stage Two: Interested Learners

At this stage, learners show positive response toward the motivation and guidelines given by  teachers. Despite a directive approach, teachers can successfully link content to students’ interests, show high support, and build  a good rapport in the classroom community, all of which can reinforce student willingness and enthusiasm.

Stage Three: Involved Learners

Students, at this level, are  much more developed. More and more, they see themselves as participants in their own learning, seeing the value of their own life experiences, and also the value of learning from and with others. Learners respond well to teaching through collaborative learning.

Stage Four: Self-directed Learners

At this stage, learners can  set their own goals, plans, and standards. This gives them a  sense of independence in, and responsibility for their learning. Teachers no longer give lectures, but rather act as consultants, monitor student progress, and give feedback in the learning process.

(SLLT 2003 page 69)

Conclusion

Student-centered learning is a model in which students are the focus of the learning process. This model, however, does not mean that teachers will step aside, letting students alone run everything. Rather, it means that teachers, when planning their teaching, will take into consideration the views and needs of students and run the classroom to the benefit of students. It also means that teachers will manage their teaching in a way that makes students feel included, value the educational process, and take control of their own learning.

Implementing a student-centered model is a true challenge for the 21 st century. The process of incorporating it into our education system demands hard work and effort from teachers and students alike. The key to the success of implementation requires, on the teacher’s part, a careful study and a thorough  comprehension of the model’s principles, as well as a genuine recognition of its value. Through the new understanding, teachers then can change their old beliefs and practices; they can set the new goals and standards, and plan their teaching, taking into account what is  best for students. In so doing, teachers can also work on their personal and professional development. On the learner’s part, likewise, students, guided by teachers, need to adopt a new conception of the learning process. They need to realize that if they are to keep pace with the rapidly changing world, and to compete in the global market place that has a growing demand for educated workers with skills in critical thinking, problem solving and decision making, they  must change their long-time practice from passive to active  learners. They need to empower themselves, gain control over their learning, and become autonomous learners. Finally, it is hoped, teachers and students working in collaboration, can gradually make  the learning environment become productive and worthwhile.

References

Authentic assessment. (2001). Retrieved April 19, 2003, from

Home

Bansberg, B. (2003). Applying the learner-centered principles to the

special case of literacy. Theory into Practice, 42 (2), 142-147.

Bush, T., & Saye, J. (2000). Implementation and evaluation of a

student-centered learning unit: A case study. Educational

Technology, Research and Development, 48 (3), 79-91.

Fink, L. D. (2002). Active learning. Retrieved April 5, 2003, from

http://www.hcc.hawaii.edupage 70 SLLT 2003

Glassglow, N. (1997). New curriculum for new times: A guide to

student-centered, problem-based learning. Thousand Oaks, CA:

Corwin.

Kohonen, V. (1992). Experiential language learning: Second language

learning as cooperative learner education. In D. Nunan (Ed.),

Collaborative language learning and teaching (pp. 17-32).

Cambridge: Cambridge University Press.

Mehan, H. (1979). Learning lessons. Cambridge, MA: Harvard

University Press.

North Central Regional Educational Laboratory (NCREL). (2003).

Focus on student-centered learning/Support professional

development. Retrieved March 27, 2003, from

http://www.ncrel.org

Preparing tomorrow’s teachers to use technology. (2003). Retrieved

March 3, 2003 from http://www.pt3.org/technology/

tech_learning.html

Steps toward becoming a self-directed learner. (1996). The Teaching

Professor, 10 (4). Retrieved March 3, 2003  from

http://www.oaa.pdx.edu/CAE/FacultyFocus/spring96/excerpt.html

Tsang-Kosma, W. (2003). Student-centered learning + technology =

rethinking teachers’ education. Retrieved March 27, 2003, from

Georgia State University

Watanabe, Y. (1999). Second language literacy through studentcentered learning. The Internet TESL Journal, 5 (2). Retrieved

March 2, 2003  from  http://iteslj.org/Articles/CaprioStudentCentered.html

Williams, D. L. (1980). Thai ways and my ways (Report No. SO

015980). Dekalb, IL: Northern Illinois University, Center for

Southeast Asian Studies. (ERIC Document Reproduction Service

No. ED 231183)

About the Author

Asst. Prof. Chutima Thamraksa obtained her Ph.D. in English

Rhetoric and Linguistics from Indiana University of Pennsylvania,

U.S.A. in 1997, M.A. in English for Non-Native Speakers and a

Certificate in Teaching English  as a Second Language (TESL)from

Central Missouri State University, U.S.A. in 1988, and B.Ed. in

English from Chulalongkorn University in 1985.  She is currently the

Chairperson of the English Department, School of Humanities,

Bangkok University. Her publications include three textbooks:

Exploring through Writing: An Advanced Rhetoric; Report Writing;SLLT 2003 page 71

Critical Reading, and articles on Virtual schooling: a technological and

educational revolution, and The use of ICT on language teaching.

 

 

*Chutima Thamraksa is an Assistant Professor and Director of the Bangkok Univeristy Language Institute

May 30th 2011

Student-Centered Learning: Demystifying the Myth

 


อาจารย์ชุติมา ธรรมรักษา

ครูเป็นศูนย์กลาง หรือ ครูเป็นหลักโดยตรงเป็นศูนย์กลางของการศึกษาประเทศไทยมาช้านาน แนวปฏิบัติดังกล่าวได้วางรากฐานการเรียนแบบตามบทเรียน หรือ การเรียนแบบจดจำ มากกว่าเรียนเพื่อพัฒนาทักษะการคิดของผู้เรียน ข้อบกพร่องของระบบดังกล่าว เห็นได้จากความไม่กระตือรือร้นของผู้เรียนที่ขาดทักษะการคิดเชิงวิเคราะห์ และไม่มีความคิดสร้างสรรค์  จากการตระหนักถึงข้อบกพร่องนี้ กระทรวงศึกษาธิการได้ริเริ่มการปฏิรูประบบการศึกษาครั้งสำคัญขึ้น จากรูปแบบที่ครูเป็นศูนย์กลางแบบดั้งเดิมสู่แนวทางการให้นักเรียนเป็นศูนย์ กลาง ด้วยมุ่งหวังจะผลิดผู้เรียนที่มีศักยภาพ มีสมรรถณะ มีความเป็นตัวของตัวเอง และสามารถเรียนรู้อย่างยั่งยืนได้ และจะสามารถยืนอยู่บนโลกแห่งการแข่งขันนี้ได้
อย่างไรก็ตาม การเปลี่ยนแปลงต่างๆ ที่เป็นผลมาจากการนำนโยบาย นักเรียนเป็นศูนย์กลางมาปฏิบัติใช้ ได้ทำให้คุณครูจำนวนไม่น้อยสับสบและงุนงงกับบทบาทและแนวทางการสอนของตนเอง บทความที่จะนำเสนอต่อไปนี้ต้องการที่จะสร้างความกระจ่าง ชี้แจงข้อสงสัยดังกล่าวโดยการให้นิยามและคำจำกัดความของแนวคิดต่างๆ และยังจะนำเสนอตัวอย่างจากแง่มุมต่างๆ ที่ตรงประเด็นกับแต่ละแนวคิดด้วย
บทนำ
ประเด็นเรื่อง นักเรียนเป็นศูนย์กลาง หรือผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง ได้กลายเป็นที่สนใจของนักการศึกษา โรงเรียน วิทยาลัยครู ในช่วงหลายปีที่ผ่านมา ในความเป็นจริงแล้วแนวคิด “นักเรียนเป็นศูนย์กลางการเรียนรู้” ไม่ได้รับการกล่าวถึงไม่มาก กระทั้งในพระราชบัญญัติการศึกษา ปี 2542 นักเรียนเป็นศูนย์กลางการเรียนรู้กลายเป็นประเด็นหลักในการปฏิรูป การศึกษา แนวคิดใหม่นี้ ได้ถูกคาดหวังว่า จะเป็นตัวช่วยเพิ่มประสิทธิภาพให้แก่ประชากรไทย ให้อยู่รอดได้ในสังคมที่มีการแข่งขันเพิ่มขึ้น ในระบบเศรษฐกิจที่ความรู้เป็นตัวขับเคลื่อน และในโลกของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
แม้จะได้รับความสนใจอย่างมาก อย่างไรก็ตาม สิ่งที่ตามมาคือความสับสนและความไม่มั่นใจในกระบวนทัศน์การเรียนการสอนภายใน แนวคิดและแนวทางใหม่นี้ คุณครูบางท่านมองแนวคิดใหม่นี้ว่าเป็นการคุกคามระบบ ครูเป็นศูนย์กลาง หรือ ครูเป็นผู้นำ ที่มีมายาวนาน ในขณะเดียวกันบางท่านเกรงว่าแนวคิดใหม่นี้จะลดบทบาทที่สำคัญของครูในชั้น เรียน และเช่นกัน นักเรียนเอง บางคนก็ไม่สบอารมณ์กับแนวคิดใหม่นี้ อย่างที่เราได้เห็นตามรายงานข่าวในหน้าหนังสือพิมพ์ล่าสุดนี้ ที่ว่า “แนวคิด นักเรียนเป็นศูนย์การการเรียนรู้ เปรียบได้กับ “ควาย” เป็นศูนย์กลางการเรียนรู้”  ตามจริงแล้ว คำว่า “ควาย” สำหรับคนไทยเราหมายถึง วัวตัวใหญ่ที่ใช้ในการลากไถช่วยเหลือชาวนา หากเมื่อใช้กับคนหรือกับแนวคิดนั้น มีความหมายเป็นนัยยะ เปรียบเทียบคนหรือแนวคิดนั้นว่า โง่เขลา
การกล่าวว่าระบบ นักเรียนเป็นศูนย์กลาง ก็คือ ระบบ “ควาย” เป็นศูนย์กลางนั้น เป็นการบอกให้ทราบว่าระบบนี้เป็นระบบที่ไม่เป็นประโยชน์ เป็นเรื่องน่าผิดหวัง และมันจะไม่ช่วยนักเรียนให้ฉลาดขึ้น แต่กลับจะระงับการพัฒนาของเด็กๆ คำวิพากย์วิจารณ์นี้แสดงให้เห็นชัดเจนว่ารูปแบบการเรียนการสอนนี้ล้มเหลว ไม่ใช่ด้วยตัวรูปแบบเอง แต่เป็นผลมาจากการตีความที่ผิดๆ การนำไปปฏิบัติที่ผิดๆ และการต่อต้านรูปแบบการเรียนการสอนใหม่
แม้จะมีการอธิบายเชิงลายลักษณ์อักษรเรื่องนักเรียนเป็นศูนย์กลางการ เรียนรู้ แต่อาจกล่าวได้ว่าครูส่วนใหญ่ยังไม่เชื่อว่าจะเป็นวิธีในการเสริมสร้าง คุณภาพการเรียนรู้ของนักเรียน ที่แย่ไปกว่านั้น ครูไม่มั่นใจถึงขั้นตอนการปฏิบัติ หรืออะไรที่ควรปฏิบัติเพื่อให้แนวคิดนี้เกิดขึ้นและปฏิบัติได้จริง คำถามมากมายเรื่องความเป็นไปและการบังคับใช้ของการสอนแนวใหม่นี้ได้ถูกหยิบ ยกขึ้นมาอย่างกว้างขวางในสังคมของคุณครู ดังนั้น เอกสารฉบับนี้จึงพยายามให้ความกระจ่าง วิเคราะห์หลักการและแง่มุมต่างๆ ของแนวคิด นักเรียนเป็นศูนย์กลาง ผ่านคำถามที่มักถูกเอ่ยถึงหรือถามถึงมากที่สุด ได้แก่
อะไรคือการเรียนรู้ แบบนักเรียนเป็นศูนย์กลาง
คำตอบคือเพียงแค่เอานักเรียนมาเป็นศูนย์กลางในการเรียนรู้ หรือรูปแบบที่นักเรียนถูกวางไว้เป็นแกนหลักในกระบวนการการเรียนรู้ เริ่มกันตั้งแต่ ความต้องการของนักเรียน ความเห็นของนักเรียน ภูมิหลังของนักเรียน และจุดประสงค์ของนักเรียน สิ่งเหล่านี้ต้องได้รับความสนใจและมีส่วนร่วมในบริบทการเรียนรู้ ภายใต้รูปแบบนี้ ครูจะเป็นผู้ชี้แนะโดยดูว่าอะไรเหมาะสมกับนักเรียนที่สุด เมื่อช่วยเหลือให้นักเรียนเรียนและตัดสินใจ
หลักการของ นักเรียนเป็นศูนย์การการเรียนรู้มีที่มาจากหลากหลายรูปแบบ เริ่มต้นพัฒนาการมาจากทฤษฏีการเรียนรู้สามารถสร้างได้ ที่เชื่อว่าเราสามารถจัดโครงสร้างให้กับความรู้ได้อย่างมีเอกภาพและมี เอกลักษณ์ได้ในหลากหลายทาง (Vygotsky, 1978, cited in Bush & Saye, 2000) และยังพัฒนาการมาจากการเรียนรู้จากประสบการณ์ กล่าวคือการสอนคือการส่งผ่าน สืบต่อของความรู้ที่มีอยู่แล้ว (Kohonen, 1992) และการเรียนรู้ และมาจากรูปแบบการเรียนรู้อย่างกระตือรือร้น ที่เสนอให้กิจกรรมการเรียนรู้ทุกกิจกรรมต้องมีการปฏิบัติเพื่อให้ได้ ประสบการณ์ตรง หรือต้องมีการโต้ตอบ อย่างเป็นการโต้ตอบกับตัวเองหรือผู้อื่น (Fink, 2002).SLLT 2003 page 61
อะไรคือหน้าตาและลักษณะของการเรียนรู้แบบนักเรียนเป็นศูนย์ กลาง
จากพื้นฐานของรูปแบบต่างๆ ที่การเรียนรู้แบบนักเรียนเป็นศูนย์กลางพัฒนามาจาก ได้ก่อให้เกิดลักษณะดังต่อไปนี้
–       มุ่งเน้นไปที่ให้มีการเรียนรู้อย่างมีการโต้ตอบ ใช้แนวคิดต่างๆ ร่วมกันเพื่อเชื่องต่อการเรียนรู้ใหม่กับการเรียนรู้เดิม กระตุ้นความสนใจและสิ่งที่เชื่องโยงกัน เปิดโอกาสให้ผู้เรียนหรือนักเรียนมีทางเลือกและควบคุม ปรับเปลี่ยน เพื่อความต้องการในการพัฒนาที่แตกต่างกันของแต่ละคน พร้อมกันนั้นยังให้การดูแลและสร้างบรรยากาศการที่ส่งเสริมการเรียนรู้
–       จัดโครงสร้างความรู้โดยผ่านการเรียนรู้ที่แท้จริง คือการเรียนในบรรยากาศจริงหรือในบริบทที่ความรู้เกิดขึ้นหรือถูกสร้างขึ้น หรือจะกล่าวได้อีกอย่างว่า เชื่อมต่อประสบการณ์การเรียนรู้ในโรงเรียนกับสถานการณ์ของโรลกความจริงนั้น เอง
–       นักเรียนมีส่วนร่วมในขั้นตอนการเรียนรู้ มากกว่าการเป็นผู้รับความรู้ นักเรียนจะได้รับโอกาสในการมีส่วนร่วมและเพิ่มความรู้สึกรับผิดชอบเพื่อให้ ทราบถึงทิศทางการเรียนรู้ของตัวเองและความต้องการในการเรียนรู้ของตนเอง รู้แหล่งของการเรียนรู้ และจัดโครงสร้างความรู้ตามความต้องการของตัวเอง
–       จัดกิจกรรมในชั้นเรียนและโครงงานที่แตกต่าง เพื่อให้ผู้เรียนหรือนักเรียนได้มีทางเลือกหลากหลายในการคัดสรรตามความต้อง การของนักเรียนแต่ละคน เป็นผลมาจากการตระหนักว่านักเรียนแต่ละคนมีศักยภาพต่างกัน มีความชื่นชอบในรูปแบบการเรียนรู้และมียุทธวิธีในการเรียนรู้ที่ต่างกัน
–       บรรยากาศในการเรียนรู้ กล่าวคือการเรียนรู้ควรเกิดขึ้นได้ทุกที่ และทุกเวลา ทั้งในรูปแบบต่างและในความหมายต่างๆ ที่สามารถสร้างสรรค์ได้ บรรยากาศการเรียนรู้เช่นนี้จะช่งยสร้างเสริมให้นักเรียนมีส่วนร่วมและมีความ รับผิดชอบในการศึกษาของตน ดังนั้นนักเรียนได้ถูกเตรียมตัวในบรรยากาศที่แท้จริงด้วยกิจกรรมนอกห้อง เรียนที่จะเพิ่มการเรียนรู้ของนักเรียนในมิติต่างๆ
–       นักเรียนถูกกระตุ้นจากภายใน (มีแรงจูงใจของตัวเอง) มากกว่าถูกกระตุ้นจากภายนอก (แรงจูงใจจากภายนอก) หรือกล่าวง่ายๆ ว่านักเรียนมีแรงจูงใจจากภายในไม่ใช่จากภายนอก ยกตัวอย่างเช่น นักเรียนพิมพ์รายงานส่งเพราะนักเรียนต้องการสร้างความภูมิใจให้งานของตัวเอง ไม่ใช่ต้องการให้คนอื่นชื่นชมวิธีการนำเสนอนี้
ทำไมต้องเปลี่ยนมาเป็นรูปแบบการเรียนรู้ใหม่นี้
การเรียนรู้แบบดั้งเดิมมีปัญหาอะไรหรือ
เพื่อเป็นการตอบคำถามสองข้อนี้ เราต้องมองย้อนกลับไปถึงการวิเคราะห์ธรรมชาติของการเรียนรู้แบบดั้งเดิมที่ ครูเป็นศูนย์กลางก่อน และดูถึงผลที่ได้รับจากการเรียนรู้แบบดั้งเดิมต่อผู้เรียน เพื่อให้เข้าใจว่าทำไมแนวทางการเรียนรู้แบบนักเรียนเป็นศูนย์กลางจึงควรได้ รับการสนับสนุนให้เป็นทางเลือกใหม่
แนวคิด ครูเป็นศูนย์กลาง ได้รับอิทธิพลมาจากแนวความคิดที่ว่าองค์ความรู้นั้นคือบางอย่างที่สามารถส่ง ต่อจากครูสู่นักเรียนได้ เสมือนการเรียนรู้แบบสองมิติ โดยโครงสร้างว่าครูสู่นักเรียน  ในห้องเรียนครูเสมือนเป็นบุคคลที่ได้รับมอบ หมายให้มีหน้าที่พัฒนาความรู้และทักษะ ประเมินและแก้ไขการปฏิบัติของผู้เรียนตามกฏเกณฑ์ที่ครูท่านนั้นได้ตั้งขึ้น ไว้ นักเรียนคือผู้รับความรู้และคาดหวังว่าครูจะควบคุมจัดการเบ็ดเสร็จในกระบวน การเรียนรู้นั้น ดังนั้น กระบวนการเรียนรู้ที่ปฏิบัติในห้องเรียนแบบไม่มีการโต้ตอบที่ใช้กันทั่วไป นี้มีการประยุกต์มาจาก IRE คือ ครูริเริ่ม นักเรียนตอบสนอง และครูประเมินผล (Mehan,1979)
ในรูปแบบ IRE ครูผู้สอนจะอยู่ด้านหน้าของชั้นเรียนเสมอ ให้ความรู้ ถามนักเรียนเพื่อให้นักเรียนแสดงว่าเข้าใจความรู้ที่เพิ่งสอนไป จากนั้นประเมินผลการปฏิบัติหรือคำตอบของนักเรียน การสอนแบบครูเป็นศูนย์กลางนี้ยังรากลึกในสังคมไทย สังคมที่ระบบ “ผู้ใหญ่ ผู้น้อย” เป็นคุณค่าสำคัญของสังคม เนื่องจากคนไทยให้ความสำคัญกับการที่ผู้น้อยควรเคารพผู้ใหญ่ ตามลำดับ และเกี่ยวข้องกับเรื่องอำนาจสิทธิ์ขาด (Williams, 1980)  ดังนั้นครู ผู้ที่มีสถานะสูงกว่านักเรียน ผู้ที่ถือได้ว่าเป็นพ่อแม่คนที่สอง หน้าที่ของครูมิใช่เพียงสั่งสอนความรู้ สั่งสอนคุณธรรม และกล่อมเกลานักเรียนให้เป็นพลเมืองที่ดีของชาติด้วย ด้วยภาพลักษณ์ที่คนทั่วไปมองครูว่าเป็น “ผู้รู้โดยชอบธรรม” ผู้ประสิทธิ์ประสาสตร์ความรู้เช่นนี้แล้ว ไม่ต้องกล่าวเลยว่าในกระบวนการเรียนรู้ ครูจึงผู้วางไว้เป็นศูนย์กลาง ไม่ใช่ผู้เรียนหรือนักเรียนเป็นศูนย์กลาง
ด้วยปัจจัยทั้งสองที่กล่าวมาแล้วคือระบบ ผู้ใหญ่ ผู้น้อยของสังคม และรูปแบบการส่งทอดทางการศึกษานี้ เราก็จะเข้าใจได้ชัดเจนขึ้นว่าทำไมครูไทยจึงจำเป็นต้องคงภาพลักษณ์ความเป็น “ผู้รู้โดยชอบธรรม” ด้วยการยึดรูปแบบการเรียนการสอน แบบครูยืนหน้าห้อง และการสอนแบบ IRE ไว้
อย่างไรก็ตาม โชคร้ายมากที่ระบบการสอนที่ครูไทยนิยมปฏิบัตินี้มีข้อเสียอย่างมาก รูปแบบนี้ได้ส่งให้ผู้เรียนเป็นผู้รับความรู้โดยไม่โต้ตอบ เป็นผู้ฟัง จำ และซึบซับข้อมูลที่ส่งมาโดยผู้รู้ นักเรียนไม่ใช่ผู้ริเริ่ม หรือผู้มีข้อสงสัยต่อสิ่งที่เรียนรู้
นักเรียนไม่ได้ถูกฝึกให้ใช้ความคิดอย่างวิเคราะห์ วิจารณ์หรือสะท้อนเปรียบเทียบ ซ้ำร้ายไปกว่านั้น ระบบการศึกษานี้ไม่ได้เตรียมนักเรียนให้เป็นผู้เรียนรู้อย่างอิสระ ที่ตระหนักว่าความรู้มีโครงสร้งและสามารถเรียนได้หลายรูปแบบ นักเรียนไม่ตระหนักเห็นคุณค่าของการเรียนรู้ ไม่ตระหนักว่าการเรียนรู้เป็นกระบวนการต่อเนื่องตลอดชีวิต ทั้งยังไม่เข้าใจว่าไม่มีคนอื่นที่มีส่วนรับผิดชอบการเรียนรู้ของตนเองนอก จากตัวผู้เรียนเอง
เพื่อให้เท่าทันโลกที่เปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็วของข้อมูลข่าวสารและ เศรษฐกิจที่ต้องการทักษะการคิดวิเคราะห์ เราต้องเสริมสร้างนักเรียนของเรา เราต้องสร้างให้นักเรียนของเราคิดอย่างวิเคราะห์และคิดอย่างอิสระ และรู้รับผิดชอบ และมีส่วนร่วมกับการเรียนรู้ของเขา นักเรียนต้องสามารถกำหนดทิศทางของตัวเองและเป็นผู้มีส่วนร่วมที่กระตือ รือร้นในบริบทการเรียนรู้เชิงวิชาการนี้ ด้วยความสำคัญเหล่านี้ ถึงเวลาแล้วที่เราต้องพัฒนาการให้ความรู้จากแบบสองมิติ ครูสู่นักเรียน ไปเป็นโครงสร้างแบบนักเรียนเป็นศูนย์กลางการเรียนรู้เชิงสามมิติ ที่ที่นักเรียนและครูมีส่วนร่วมในการพัฒนาโครงงาน ตามคำกล่าวของ วาตานาเบ (1999) “เราต้องอนุญาตให้การมีส่วนร่วมเชิงลึกในกระบวนการเรียนรู้ ผ่านนักเรียนละครูอย่างเข้มแข็ง การมีส่วนร่วมที่เปิดโอกาสให้เกิดการสร้างสรรค์อย่างไม่มีข้อจำกัด”
จะทำให้การการเรียนรู้แบบนักเรียนเป็นศูนย์กลางปฏิบัติได้จริง อย่างไร
อย่างที่กล่าวมาแล้วขั้นต้น ครูเป็นศูนย์กลางเป็นแกนสำคัญของระบบการศึกษาของเรามาช้านาน ดังนั้น ความตั้งใจในการทำให้การเรียนรู้แบบนักเรียนเป็นศูนย์กลางเกิดขึ้นได้จริง นั้น สิ่งแรกคือการต้องทำคือการแก้ไขทัศนคติการเรียนการสอน ทัศนคติเดิมๆ ที่เน้นให้ความรู้เป็นวัตถุที่สามารถส่งต่อกันได้ การสอนคือการนำเสนอความรู้ และการเรียนคือการซึบซับความรู้ ทั้งหมดนี้ต้องได้รับการปฏิรูป เราต้องนำทัศนคติและแนวคิดใหม่เข้าไป ทัศนคติที่ว่าความรู้เป็นสิ่งสามารถจัดโครงสร้างได้ การสอนคือการจัดบรรยากาศและสิ่งแวดล้อมที่เอื้อให้เกิดการเรียนรู้ และการเรียนรู้คือกระบวนการของการเรียนรู้ว่าจะเรียนอย่างไร  ตามรูปแบบการ เรียนรู้ใหม่นี้ นักเรียนและครูต้องปรับบทบาทและหน้าที่ใหม่ เพื่อให้เข้ากับกระบวนการเรียนรู้ โครงร่างคร่าวๆ ของการปรับบทบาทดังกล่าวมีดังต่อไปนี้
บทบาทของครู
บทบทของครูในห้องเรียนแบบนักเรียนเป็นศูนย์กลางการเรียนรู้นั้นมีคุณ ค่าและต้องมีความพิถีพิถันมากกว่ารูปแบบเดิมที่ให้ครูเป็นศูนย์กลาง
ครูมีความจำเป็นต้องปฏิบัติดังนี้
  • เปลี่ยนจากผู้มีอำนาจและนำเสนอความรู้ทั้งหมด มาเป็นผู้ให้คำแนะนำ ชี้แนะ ผู้สร้างบรรยกาศที่นักเรียนจะสามารถมีแรงจูงใจ สนใจและตั้งข้อสงสัยเกี่ยวกับบทบาทของตัวเองในการเรียนรู้
  • สร้างบรรยากาศในการเรียนรู้ที่จะสร้างแรงจูงใจและท้าทายผู้เรียน กระตุ้นการคิดอย่างวิเคราะห์และสร้างกระบวนการเรียนรู้อย่างมีโครงสร้าง ยกตัวอย่างเช่น ครูสามารถเสริมสร้างทักษะการคิดของผู้เรียนผ่านการทำกิจกรรม เช่น การหาเหตุผล การตัดสินใจ การสะท้อนความคิด การพูดโน้มน้าวและการแก้ปัญหา กิจกรรมเหล่านี้กระตุ้นนักเรียนให้มีส่วนร่วมทั้งทางกายภาพและความเข้าใจใน เนื้อหากิจกรรม โดยเฉพาะอย่างยิ่ง กิจกรรมที่กล่าวมาในช่วงท้ายๆ สามารถสร้างบรรยากาศที่เปิดโอกาสให้นักเรียนทบทวนปัญหาที่ซับซ้อน ให้ทรัพยากรจากหลากหลายแหล่ง พัฒนายุทธวิธีของตนเองในการเข้าใจปัญหา และสามารถนำเสนอและต่อรองเพื่อให้ได้ทางออกของปัญหาด้วยอาศัยความร่วมมือกัน ได้
  • ส่งเสริมการเรียนรู้แบบเกื้อกูลกัน การส่งเสริมและเกื้อกูลกันระหว่างนักเรียนเป็นองค์ประกอบสำคัญในรูปแบบการ เรียนรู้แบบนักเรียนเป็นศูนย์กลาง ทำงานเป็นทีม ตามงานวิจัยของ โคโฮเนน การเรียนรู้อย่างเกื้อกูลกันจะสามารถสร้างการพึ่งพากันในเชิงบวกและความรับ ผิดชอบส่วนตัวแก่ผู้เรียนได้ เมื่อสมาชิกในทีมได้มีส่วนร่วมออกความเห็น ลงแรง และรับผิดชอบร่วมกันในการช่วยเหลือเพื่อนร่วมทีมในการเรียนรู้ การประสานงานกันยังสามารถสร้างเสริมให้ผู้เรียนเติบโต พัฒนาทักษะการเข้าสังคมและการเรียนรู้ และช่วยให้ผู้เรียนจิตนาการถึงโครงสร้างความรู้ของตนเอง โดยผ่านการแลกเปลี่ยนความคิดเห็น
  • ยอมรับความแตกต่างของแต่ละคน แต่ละคนมีรูปแบบการเรียนรู้ต่างกัน ครูควรจัดกิจกรรมที่หลากหลาย ให้ทางเลือกแก่ผู้เรียนในการเลือกและลงรายละเอีอดกิจกรรมของตัวเอง เป็นรายบุคคลไป
  • สนับสนุนความคิดที่ว่าแหล่งความรู้ไม่ได้ปิดกั้นอยู่เพียงในเขตกำแพงของ ห้องเรียนเท่านั้น ความรู้อาจอยู่ข้างนอก ยกตัวอย่างแหล่งความรู้นอกห้องเรียน อาจรวมถึง พ่อแม่ ผู้ใหญ่ในชุมชน บรรณารักษ์ พิพิธภัณฑ์ โบราณสถาน โบราณวัตถุ หรือแม้แต่อินเตอร์เน็ท
  • นำ “การประเมินผลตามจริง” มาใช้ (“Authentic Assessment,” 2001) หรือการประเมินผลที่ทบทวนความสามารถในการร่วมมือกันของนักเรียน มีเกณฑ์อ้างอิงได้ และขึ้นอยู่กับการปฏิบัติได้จริง มากกว่าการประเมินตามเกณฑ์มาตรฐาน
  • นำเอาประสบการณ์ที่แตกต่างของผู้เรียน จากหลากหลายสาขาและพื้นฐานมามีส่วรร่วมในการเรียนรู้ และสำคัญยื่งไปกว่านั้นคือการทำการเรียนการสอนเป็นทีม เพื่อให้ได้ผู้การเรียนแบบบูรณาการ ยกตัวอย่างเช่น ครูที่มีความชำนาญเฉพาะทางที่แตกต่างกัน เช่น การท่องเที่ยว ชีววิทยา สามารถทำงานร่วมกัน สามารถสร้างสาระวิชาใหม่ขึ้นเพื่อปูพื้นฐานเบื้องต้นเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม
  • สร้างความเชื่องโยงระหว่างความรู้และประสบการณ์เดิมที่นักเรียนมีอยู่ กับการเรียนรู้ใหม่ ทั้งนี้ต้องตระหนักว่าประสบการณ์การเรียนรู้ที่เป็นประสบการณ์ส่วนบุคคลของ นักเรียนแต่ละคนนั้นเรียนรู้ได้ง่ายแต่มักถูกหลงลืมง่ายเช่นกัน
บทบาทของนักเรียน
ในทิศทางใกล้เคียงกัน นักเรียนมีบทบาทสำคัญมากในกระบวนการเรียนรู้ นักเรียนไม่สามารถมองเห็นว่าตนเองเป็นแก้วที่ว่างเปล่ารอการเติมเต็ม ในทางกลับกัน นักเรียนต้องปฏิบัติดังนี้
  • เปลี่ยนจากความเชื่อเดิมที่ว่า “ความรู้ถูกส่งผ่านโดยครู” มาเป็นความเข้าใจใหม่คือ “ความรู้ที่สร้างได้” และตระหนักว่านักเรียนมีส่วนรับผิดชอบในการสร้างองค์ความรู้ของตัวเอง
  • เปลี่ยนจากการเป็นผู้รับสาระทางเดียว มาเป็นผู้มีส่วนร่วมในการเรียนรู้ที่กระตือรือร้น และใส่ใจในกิจกรรมและในแง่มุมต่างๆ ในการเรียนรู้ (ทั้งทางกายภาพและความเข้าใจ) ว่าทั้งหมดนั้นถือเป็นหน้าที่ของครูโดยทั่วไปของครูในกิจกรรมการสอนแบบเดิม
  • ตั้งเป้าหมายที่มีความหมายเมื่อจบกิจกรรมการเรียนรู้นี้ สร้างความรับผิดชอบให้ตัวเองมากขึ้นในการบรรลุเป้าหมายนั้น เคยประเมินพัฒนาการ เพื่อจะได้ปรับยุทธศาสตร์การเรียนรู้ที่ตนใช้เพื่อการบรรลุเป้าหมายอย่างมี ประสิทธิภาพ
การใช้เทคโนโยลีเป็นองค์ประกอบสำคัญใรการเรียนรู้แบบนักเรียน เป็นศูนย์กลางหรือไม่
ไม่ต้องสงสัยเลยว่าในศตวรรษที่ 21 เทคโนโลยีมีความสำคัญเพิ่งขึ้นอย่าง ยิ่ง มีผลกับไม่เพียงแต่กับวิถีการใช้ชีวิตของเรา การดำเนินธุรกิจ การสื่อสารกับคนอื่น แต่ยังมีผลกับวิธีการเรียนการสอนของเรา จากเอกสารของ ทซัง โคส์มา กล่าวว่าโลกธุรกิจเรียกร้องให้โรงเรียนเตรียมนักเรียนนักศึกษาให้มีทักษะ พร้อมทำงานเป็นทีม สามารถแก้ปัญหาได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถปฏิบัติงานและประมวลข้อมูล และสำคัญยิ่งกว่านั้นคือ สามารถใช้เทคโนโลโยลีได้อย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อการผลิตและการปฏิบัติอย่างเต็มกำลัง ยกตัวอย่างเช่น ความท้าทายและเป้าหมายการศึกษาของโรงเรียนควรมุ่งเน้นการสร้างบรรยากาศการ เรียนรู้ที่นำเทคโนโลยีมาร่วมใช้ พร้อมทั้งปลูกฝังทักษะที่จำเป็นต่างๆ เพื่อช่วยนักเรียน
หากนำเทคโนโลยีมาใช้อย่างถูกต้อง เทคโนโลยีที่กล่าวนี้เช่น สื่อการฟัง สื่อภาพเคลื่อนไหว คอมพิวเตอร์อินเตอร์เน็ท จะช่วยเสริมบรรยากาศการเรียนโดยใช้เทคโนโลยีเหล่านี้อย่างมีประสิทธิภาพ ใช้ให้เป็นเช่นสื่อหรือเครื่องมือในการสร้างเสริมการเรียนของนักเรียน คุณประโยชน์ของเทคโนโลยีในการศึกษาได้ถูกกล่าวไว้คร่าวๆ โดยNCREL (2003)
  • เทคโนโลยีสามารถเปลี่ยนบริบทกิจกรรมการเรียนจากครูเป็นศูนย์กลางสู่นัก เรียนเป็นศูนย์กลาง ให้นักเรียนควบคุมบริบทการเรียนของตัวเองมากขึ้น สร้างสรรค์บรรยากาศการเรียนอย่างเกื้อกูลกัน และมีการอำนวยความสะดวกให้เข้าถึงแหล่งข้อมูลและสื่อสารกับสังคมได้หลายวิธี โปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่สามารถโต้ตอบได้สามารถเป็นตัวนำที่ดีในรูปแบบการเรียน แบบผู้เรียนเป็นศูนย์กลางนี้
  • เทคโนโลยีสามารถสร้างกิจกรรมที่ทำให้ผู้เรียนได้ลองปฏิบัติจริง และเข้าใจอย่างแท้จริง โปรแกรมที่กระตุ้นให้นักเรียนฝึกทักษะการแก้ปัญหาทั้งทางกายภาพและจิตใจ กิจกรรมดังกล่าวสามารถสร้างความชำนาญในบริบทที่เสริมขึ้น ทำให้ทักษะพื้นฐานต่างๆ แข็งเกร่ง ช่วยให้นักเรียนพัฒนาไปในระดับที่สูงขึ้น เพิ่มจุดเชื่องต่อของโครงสร้างความรู้กับชีวิตนักเรียน สามารถแจ้งการประเมินผลแก่ผู้เรียน และที่ดีที่สุดคือสามารถสร้างแรงจูงใจนักเรียนได้ ยกตัวอย่างเช่น การใช้แบบเรียนอีเลคโทรนิค ที่เราเห็นกันบ่อยในรูปแบบของซีดี สามารถทำให้กิจกรรมการอ่านที่น่าเบื่อจากเอกสารสิ่งพิมพ์ให้เป็นกิจกรรมที่ ตื่นเต้นและมีการโต้ตอบได้
  • โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เทคโนโลยีอย่างอินเตอร์เนท เป็นเครื่องมือที่เหมาะกับผู้เรียนอย่างยิ่ง อินเตอร์เนทสามารถสร้างบรรยากาศการเรียนรู้ให้แก่ผู้เรียนด้วยการฝึกปฏิบัติ ฟังการประเมินเพื่อปรับปรุงความเข้าใจ สร้างองค์ความรู้ใหม่ และสะท้อนความคิด(“Preparing Tomorrow’s Teachers,” 2003).
อะไรจะเป็นอุปสรรคบ้างในการเรียนการสอนแบบนักเรียนเป็นศูนย์ กลาง
อุปสรรคที่อาจจะเกิดขึ้นในการนำรูปแบบการเรียนการสอนใหม่นี้ไปใช้ ได้แก่
  • ครูบางท่านปฏิเสธการปลี่ยนแปลง ด้วยความเชื่อเดิมๆ และการปฏิบัติที่คุ้นเคย การปฏิเสธนี้อาจเกิดขึ้นจากภาพลักษณ์ของ “ผู้รู้โดยชอบธรรม” หรือ “ผู้ประสิทธิ์ประศาสตร์ความรู้” ฝังอยู่ในหัว ครูเหล่านี้เห็นภาพด้วยเองว่าได้รับการมอบหมายให้สอน ชี้นำ อำนวยการและควบคุมนักเรียน ดังนั้นจึงกลัวที่จะทำสิ่งอื่นที่แตกต่างออกไป เห็นว่าการเปลี่ยนแปลงนี้ทำลายสถานะและอาชีพของตน
  • ครูจำนวนไม่น้อยไม่ยินดีที่จะปฏิบัติตามแนวทางใหม่ ด้วยเห็นว่าวิธีที่ตนเองใช้สอนอยู่นั้นดีอยู่แล้วดังนั้นจึงไม่เห็นความจำ เป็นที่จะต้องเปลี่ยน เหตุที่ครูเหล่านี้ยึดมั่นว่าวิธีที่ทำงานอยู่ปัจจุบันดีอยู่แล้ว ครูเหล่านี้จึงไม่เปิดตัวเองสู่ความคิดและความเป็นไปได้ใหม่ๆ
  • ครูบางท่านเร่งรีบที่จะใช้รูปแบบการสอนใหม่นี้ โดยยังไม่เข้าใจถึงหลักการที่แท้จริงหรือยังไม่มีโอกาสได้คิดถ้วนถี่ หรือยังไม่ได้วางแผนการสอนไว้ระมัดระวัง ครูเหล่านี้มีความประสงค์ที่แรงกล้าที่จะเปลี่ยน หากแต่ไม่ได้พิจาณณาถึงประเด็นทางวัฒนธรรมหรือพิจารณาถึงสภาพชั้นเรียนของตน
  • ครูบางท่านยังขาดความเข้าใจและทักษะในการประสานเทคโนโลยีเข้ากับการสอน น่าเสียดายที่ครูจำนวนมากมีความรู้ด้านคอมพิวเตอร์ค่อนข้างน้อยและไม่ใส่ใจ เรียนรู้เพิ่มเติม ในขณะที่บางท่านมีความต้องการหาความรู้ด้านคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีเพิ่ง เติมแต่ขาดอุปกรณ์และการสนับสนุน ครูเหล่านี้เห็นคุณค่าและประโชยน์ของคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีแต่รู้สึกอึด อัดเพราะท่านเหล่านี้ไม่ได้ถูกอบรมหรือฝึกฝนให้ใช้เทคโนโลยีเหล่านี้ในชั้น เรียน
  • อาจเกิดกรณีที่ครูพยายามตอบสนองความต้องการของนักเรียนอย่างจริงจัง แต่โครงสร้างขององค์กรหรือนโยบายการสถานศึกษาอาจไม่เอื้ออำนวย ซึ่งเป็นการขัดขวางความพยายามที่จะให้นักเรียนเป็นศูนย์กลางมากขึ้น
  • นักเรียนบางกลุ่มต่อต้านการเรียนการสอนแบบใหม่ เพราะนักเรียนต้องการหลักฐานที่ชัดเจนว่าตนเองได้ถูกสอนบางอย่าง นักเรียนเหล่านี้เห็นเช่นดียวกับครูบางท่านที่ว่า ความรู้ถูกส่งผ่านกันมา และจะรอการป้อนความรู้จากครูเท่านั้น
มีตัววัดอะไรบ้างที่จะบ่งชี้ว่ารูปแบบการเรียนรู้แบบนักเรียน เป็นศูนย์กลางประสบความสำเร็จ
วัตถุเป้าหมายสูงสุดของการเรียนแบบนักเรียนเป็นศูนย์กลางคือการทำให้ นักเรียนรู้จัดทิศทางของตนเอง และเป็นผู้เรียนรู้แบบบูรณาการ (เรียนรู้ได้ตลอดชีวิต) หมายถึงครูสามารถช่วยเหลือ ชี้แนวให้นักเรียนเปลี่ยนจากการเรียนแบบพึ่งพาผู้อื่นมาเป็นผู้ที่สามารถหา ความรู้เองได้ ความสำเร็จในการนำแนวทางการเรียนรู้นี้ไปปฏิบัติสามารถดูได้จากขั้นตอนการ พัฒนาของนักเรียน ตามลำดับดังต่อไปนี้(“Steps Toward,” 1996)
ขั้นที่ 1: ผู้เรียนที่ต้องพึ่งพา (ไม่สามารถหาความรู้ได้ด้วยตนเอง)
ในขั้นแรกนี้ ผู้เรียนจะพึ่งพาครู ครูผู้นำพาความรู้ ให้โครงสร้างและทิศทางว่าต้องทำอะไร อย่างไร และเมื่อไร สำหรับนักเรียน การเรียนคือครูเป็นศูนย์กลาง นักเรียนจะไม่ได้รับโอกาสในการเลือกหรือฝึกควบคุมปฏิบัติในกระบวนการการ เรียน
ขั้นที่ 2:  ผู้เรียนที่มีความสนใจใส่ใจ
ในขั้นนี้ ผู้เรียนจะแสดงผลตอบสนองในเชิงบวก ต่อแรงกระตุ้นหรือทิศทางที่ครูกำหนด อย่างไรก็ตามแทนทีการให้ทิศทางแบบกำหนดตายตัว ครูสามารถเชื่องต่อความสนใจของนักเรียนกับบริบทการเรียนได้อย่างประสบความ สำเร็จ มีการตอบรับอย่างดี และสร้างบรรยากาศที่ดีในห้องเรียนหรือในชุมชนการเรียนรู้ ทั้งหมดนี้เป็นการตอกย้ำว่านักเรียนสนใจและมีความกระตือรือร้น
ขั้นที่ 3: ผู้เรียนที่มีส่วนร่วม
ในขั้นที่ 3 นี้ นักเรียนได้พัฒนาไปมากแล้ว นักเรียนจะเห็นว่าตนเองเป็นผู้มีส่วนร่วมในการเรียนรู้ของตนเองมากขึ้นและ มากขึ้น เห็นคูรค่าของประสบการณ์ชีวติที่ตนเองประสบมา และพร้อมกันนั้นจะเห็นคุณค่าของการเรียนรู้จากประสบการณ์ของผู้อื่น ผู้เรียนจะตอบสนองอย่างดีต่อการสอนแบบเกื้อกูลกัน
ขั้นที่ 4: ผู้เรียนที่สามารถกำหนดทิศทางตัวเองได้
ในขั้นนี้ ผู้เรียนสามารถกำหนดเป้าหมายของตัวเอง วางแผน และตั้งมาตรฐานได้ ผู้เรียนจะรับรู้ถึงความสามารถในการเรียนรู้อย่างอิสระ และรับผิดชอบต่อการเรียนของตน ครูไม่ต้องคอยบรรยาย แต่เป็นผู้ให้คำปรึกษา ตรวจสอบพัฒนาการ ให้คำแนะนำในกระบวนการเรียนรู้
การเรียนแบบนักเรียนเป็นศูนย์กลางนี้เป็นรูปแบบที่นักเรียนเป็นจุดสนใจ ของกระบวนการเรียน อย่างไรก็ตามในการเรียนรู้รูปแบบนี้ไม่ได้หมายความว่าครูจะต้องหลบฉาก ปล่อยให้นักเรียนดำเนินการเรียนรู้ตามลำพัง แต่หมายถึงเมื่อครูวางแผนการสอน ครูต้องพิจารณาถึงทัศนคติและความต้องการของนักเรียน และทำให้ทิศทางของกระบวนการการเรียนเป็นประโยชน์แก่นักเรียน และยังหมายถึงครูต้องจัดการการสอนในวิธีที่ทำให้นักเรียนรู้สึกเป็นส่วน หนึ่งของการเรียน เห็นคุณค่าต่อกระบวนการการเรียน และสามารถควบคุมการเรียนรู้ของตัวเองได้ การทำให้การเรียนรู้แบบนักเรียนเป็นศูนย์กลางเกิดขึ้นและใช้ได้จริงเป็นความ ท้าทายอย่างยิ่งของศตวรรษที่ 21 ขั้นตอนการประสานรูปแบบนี้เข้ากับระบบการ ศึกษาของเราต้องอาศัยการทำงานหนักและความพยายามอย่างยิ่ง จากครูและนักเรียนเช่นกัน
กุญแจสำคัญในการทำให้รูปแบบกาเรียนรู้นี้เกิดขึ้นจริงได้ ในส่วนของครู การศึกษาและใส่ใจกับหลักการของรูปแบบ และเห็นคุณค่าของรูปแบบนี้อย่างแท้จริงนั้นสำคัญยิ่ง จากการเข้าใจที่ถูกต้อง ครูจะสามารถเปลี่ยนความเชื่อและวิธีปฏิบัติเดิมๆ ครูจะสามารถตั้งเป้าหมายและมาตรฐานใหม่ ยังจะสามารถวางแผนการสอน โดยคำนึงถึงอะไรคือสิ่งที่ดีที่สุดสำหรับนักเรียน ในการเปลี่ยนแปลงนี้ครูยังสามารถพัฒนาตนเองและพัฒนาวิชาชีพตนเองด้วย เช่นเดียวกันในส่วนของผู้เรียน นักเรียนจะได้รับคำชี้แนะจากครู ต้องปรับตัวให้เข้ากับรูปแบบและกระบวนการเรียนรู้ใหม่นี้ นักเรียนต้องตระหนักว่าหากยังต้องการยืนอยู่ในโลกที่เปลี่ยนแปลงอย่างรวด เร็ว และอยู่บนโลกแห่งตลาดการแข่งขันที่มีความต้องการแรงงงานที่ได้รับการศึกษา ที่มีทักษะการคิดวิเคราะห์ การแก้ปัญหา การตัดสินใจได้ นักเรียนต้องเปลี่ยนวิธีปฏิบัติที่ทำมาทั้งชีวิตที่เป็นผู้รับมาตลอด ให้เป็นผู้กระตือรือร้นในการเรียน นักเรียนต้องติดอาวุธทักษะนี้ให้ตนเอง มีบทบาทควบคุมการเรียนรู้ เป็นผู้เรียนรู้ที่เป็นอิสระ (สามารถเรียนรู้ได้ด้วยตนเอง) และท้ายที่สุด ความหวังที่จะเห็นครูและนักเรียนสอนและเรียนร่วมกันในห้องเรียนจะนำไปสู่ บรรยากาศการเรียนรู้ที่มีประสิทธิผลและมีค่ายิ่ง
เอกสารอ้างอิง
Authentic assessment. (2001). Retrieved April 19, 2003, from
http://www.funderstanding.com
Bansberg, B. (2003). Applying the learner-centered principles to the
special case of literacy. Theory into Practice, 42 (2), 142-147.
Bush, T., & Saye, J. (2000). Implementation and evaluation of a
student-centered learning unit: A case study. Educational
Technology, Research and Development, 48 (3), 79-91.
Fink, L. D. (2002). Active learning. Retrieved April 5, 2003, from
http://www.hcc.hawaii.edupage 70 SLLT 2003
Glassglow, N. (1997). New curriculum for new times: A guide to
student-centered, problem-based learning. Thousand Oaks, CA:
Corwin.
Kohonen, V. (1992). Experiential language learning: Second language
learning as cooperative learner education. In D. Nunan (Ed.),
Collaborative language learning and teaching (pp. 17-32).
Cambridge: Cambridge University Press.
Mehan, H. (1979). Learning lessons. Cambridge, MA: Harvard
University Press.
North Central Regional Educational Laboratory (NCREL). (2003).
Focus on student-centered learning/Support professional
development. Retrieved March 27, 2003, from
http://www.ncrel.org
Preparing tomorrow’s teachers to use technology. (2003). Retrieved

 

การเรียนแบบนักเรียนเป็นศูนย์กลาง : ทำความเข้าใจตำนานอย่างลึกซื้ง
อาจารย์ชุติมา ธรรมรักษา
ครูเป็นศูนย์กลาง หรือ ครูเป็นหลักโดยตรงเป็นศูนย์กลางของการศึกษาประเทศไทยมาช้านาน แนวปฏิบัติดังกล่าวได้วางรากฐานการเรียนแบบตามบทเรียน หรือ การเรียนแบบจดจำ มากกว่าเรียนเพื่อพัฒนาทักษะการคิดของผู้เรียน ข้อบกพร่องของระบบดังกล่าว เห็นได้จากความไม่กระตือรือร้นของผู้เรียนที่ขาดทักษะการคิดเชิงวิเคราะห์ และไม่มีความคิดสร้างสรรค์  จากการตระหนักถึงข้อบกพร่องนี้ กระทรวงศึกษาธิการได้ริเริ่มการปฏิรูประบบการศึกษาครั้งสำคัญขึ้น จากรูปแบบที่ครูเป็นศูนย์กลางแบบดั้งเดิมสู่แนวทางการให้นักเรียนเป็นศูนย์ กลาง ด้วยมุ่งหวังจะผลิดผู้เรียนที่มีศักยภาพ มีสมรรถณะ มีความเป็นตัวของตัวเอง และสามารถเรียนรู้อย่างยั่งยืนได้ และจะสามารถยืนอยู่บนโลกแห่งการแข่งขันนี้ได้
อย่างไรก็ตาม การเปลี่ยนแปลงต่างๆ ที่เป็นผลมาจากการนำนโยบาย นักเรียนเป็นศูนย์กลางมาปฏิบัติใช้ ได้ทำให้คุณครูจำนวนไม่น้อยสับสบและงุนงงกับบทบาทและแนวทางการสอนของตนเอง บทความที่จะนำเสนอต่อไปนี้ต้องการที่จะสร้างความกระจ่าง ชี้แจงข้อสงสัยดังกล่าวโดยการให้นิยามและคำจำกัดความของแนวคิดต่างๆ และยังจะนำเสนอตัวอย่างจากแง่มุมต่างๆ ที่ตรงประเด็นกับแต่ละแนวคิดด้วย
บทนำ
ประเด็นเรื่อง นักเรียนเป็นศูนย์กลาง หรือผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง ได้กลายเป็นที่สนใจของนักการศึกษา โรงเรียน วิทยาลัยครู ในช่วงหลายปีที่ผ่านมา ในความเป็นจริงแล้วแนวคิด “นักเรียนเป็นศูนย์กลางการเรียนรู้” ไม่ได้รับการกล่าวถึงไม่มาก กระทั้งในพระราชบัญญัติการศึกษา ปี 2542 นักเรียนเป็นศูนย์กลางการเรียนรู้กลายเป็นประเด็นหลักในการปฏิรูป การศึกษา แนวคิดใหม่นี้ ได้ถูกคาดหวังว่า จะเป็นตัวช่วยเพิ่มประสิทธิภาพให้แก่ประชากรไทย ให้อยู่รอดได้ในสังคมที่มีการแข่งขันเพิ่มขึ้น ในระบบเศรษฐกิจที่ความรู้เป็นตัวขับเคลื่อน และในโลกของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
แม้จะได้รับความสนใจอย่างมาก อย่างไรก็ตาม สิ่งที่ตามมาคือความสับสนและความไม่มั่นใจในกระบวนทัศน์การเรียนการสอนภายใน แนวคิดและแนวทางใหม่นี้ คุณครูบางท่านมองแนวคิดใหม่นี้ว่าเป็นการคุกคามระบบ ครูเป็นศูนย์กลาง หรือ ครูเป็นผู้นำ ที่มีมายาวนาน ในขณะเดียวกันบางท่านเกรงว่าแนวคิดใหม่นี้จะลดบทบาทที่สำคัญของครูในชั้น เรียน และเช่นกัน นักเรียนเอง บางคนก็ไม่สบอารมณ์กับแนวคิดใหม่นี้ อย่างที่เราได้เห็นตามรายงานข่าวในหน้าหนังสือพิมพ์ล่าสุดนี้ ที่ว่า “แนวคิด นักเรียนเป็นศูนย์การการเรียนรู้ เปรียบได้กับ “ควาย” เป็นศูนย์กลางการเรียนรู้”  ตามจริงแล้ว คำว่า “ควาย” สำหรับคนไทยเราหมายถึง วัวตัวใหญ่ที่ใช้ในการลากไถช่วยเหลือชาวนา หากเมื่อใช้กับคนหรือกับแนวคิดนั้น มีความหมายเป็นนัยยะ เปรียบเทียบคนหรือแนวคิดนั้นว่า โง่เขลา
การกล่าวว่าระบบ นักเรียนเป็นศูนย์กลาง ก็คือ ระบบ “ควาย” เป็นศูนย์กลางนั้น เป็นการบอกให้ทราบว่าระบบนี้เป็นระบบที่ไม่เป็นประโยชน์ เป็นเรื่องน่าผิดหวัง และมันจะไม่ช่วยนักเรียนให้ฉลาดขึ้น แต่กลับจะระงับการพัฒนาของเด็กๆ คำวิพากย์วิจารณ์นี้แสดงให้เห็นชัดเจนว่ารูปแบบการเรียนการสอนนี้ล้มเหลว ไม่ใช่ด้วยตัวรูปแบบเอง แต่เป็นผลมาจากการตีความที่ผิดๆ การนำไปปฏิบัติที่ผิดๆ และการต่อต้านรูปแบบการเรียนการสอนใหม่
แม้จะมีการอธิบายเชิงลายลักษณ์อักษรเรื่องนักเรียนเป็นศูนย์กลางการ เรียนรู้ แต่อาจกล่าวได้ว่าครูส่วนใหญ่ยังไม่เชื่อว่าจะเป็นวิธีในการเสริมสร้าง คุณภาพการเรียนรู้ของนักเรียน ที่แย่ไปกว่านั้น ครูไม่มั่นใจถึงขั้นตอนการปฏิบัติ หรืออะไรที่ควรปฏิบัติเพื่อให้แนวคิดนี้เกิดขึ้นและปฏิบัติได้จริง คำถามมากมายเรื่องความเป็นไปและการบังคับใช้ของการสอนแนวใหม่นี้ได้ถูกหยิบ ยกขึ้นมาอย่างกว้างขวางในสังคมของคุณครู ดังนั้น เอกสารฉบับนี้จึงพยายามให้ความกระจ่าง วิเคราะห์หลักการและแง่มุมต่างๆ ของแนวคิด นักเรียนเป็นศูนย์กลาง ผ่านคำถามที่มักถูกเอ่ยถึงหรือถามถึงมากที่สุด ได้แก่
อะไรคือการเรียนรู้ แบบนักเรียนเป็นศูนย์กลาง
คำตอบคือเพียงแค่เอานักเรียนมาเป็นศูนย์กลางในการเรียนรู้ หรือรูปแบบที่นักเรียนถูกวางไว้เป็นแกนหลักในกระบวนการการเรียนรู้ เริ่มกันตั้งแต่ ความต้องการของนักเรียน ความเห็นของนักเรียน ภูมิหลังของนักเรียน และจุดประสงค์ของนักเรียน สิ่งเหล่านี้ต้องได้รับความสนใจและมีส่วนร่วมในบริบทการเรียนรู้ ภายใต้รูปแบบนี้ ครูจะเป็นผู้ชี้แนะโดยดูว่าอะไรเหมาะสมกับนักเรียนที่สุด เมื่อช่วยเหลือให้นักเรียนเรียนและตัดสินใจ
หลักการของ นักเรียนเป็นศูนย์การการเรียนรู้มีที่มาจากหลากหลายรูปแบบ เริ่มต้นพัฒนาการมาจากทฤษฏีการเรียนรู้สามารถสร้างได้ ที่เชื่อว่าเราสามารถจัดโครงสร้างให้กับความรู้ได้อย่างมีเอกภาพและมี เอกลักษณ์ได้ในหลากหลายทาง (Vygotsky, 1978, cited in Bush & Saye, 2000) และยังพัฒนาการมาจากการเรียนรู้จากประสบการณ์ กล่าวคือการสอนคือการส่งผ่าน สืบต่อของความรู้ที่มีอยู่แล้ว (Kohonen, 1992) และการเรียนรู้ และมาจากรูปแบบการเรียนรู้อย่างกระตือรือร้น ที่เสนอให้กิจกรรมการเรียนรู้ทุกกิจกรรมต้องมีการปฏิบัติเพื่อให้ได้ ประสบการณ์ตรง หรือต้องมีการโต้ตอบ อย่างเป็นการโต้ตอบกับตัวเองหรือผู้อื่น (Fink, 2002).SLLT 2003 page 61
อะไรคือหน้าตาและลักษณะของการเรียนรู้แบบนักเรียนเป็นศูนย์ กลาง
จากพื้นฐานของรูปแบบต่างๆ ที่การเรียนรู้แบบนักเรียนเป็นศูนย์กลางพัฒนามาจาก ได้ก่อให้เกิดลักษณะดังต่อไปนี้
–       มุ่งเน้นไปที่ให้มีการเรียนรู้อย่างมีการโต้ตอบ ใช้แนวคิดต่างๆ ร่วมกันเพื่อเชื่องต่อการเรียนรู้ใหม่กับการเรียนรู้เดิม กระตุ้นความสนใจและสิ่งที่เชื่องโยงกัน เปิดโอกาสให้ผู้เรียนหรือนักเรียนมีทางเลือกและควบคุม ปรับเปลี่ยน เพื่อความต้องการในการพัฒนาที่แตกต่างกันของแต่ละคน พร้อมกันนั้นยังให้การดูแลและสร้างบรรยากาศการที่ส่งเสริมการเรียนรู้
–       จัดโครงสร้างความรู้โดยผ่านการเรียนรู้ที่แท้จริง คือการเรียนในบรรยากาศจริงหรือในบริบทที่ความรู้เกิดขึ้นหรือถูกสร้างขึ้น หรือจะกล่าวได้อีกอย่างว่า เชื่อมต่อประสบการณ์การเรียนรู้ในโรงเรียนกับสถานการณ์ของโรลกความจริงนั้น เอง
–       นักเรียนมีส่วนร่วมในขั้นตอนการเรียนรู้ มากกว่าการเป็นผู้รับความรู้ นักเรียนจะได้รับโอกาสในการมีส่วนร่วมและเพิ่มความรู้สึกรับผิดชอบเพื่อให้ ทราบถึงทิศทางการเรียนรู้ของตัวเองและความต้องการในการเรียนรู้ของตนเอง รู้แหล่งของการเรียนรู้ และจัดโครงสร้างความรู้ตามความต้องการของตัวเอง
–       จัดกิจกรรมในชั้นเรียนและโครงงานที่แตกต่าง เพื่อให้ผู้เรียนหรือนักเรียนได้มีทางเลือกหลากหลายในการคัดสรรตามความต้อง การของนักเรียนแต่ละคน เป็นผลมาจากการตระหนักว่านักเรียนแต่ละคนมีศักยภาพต่างกัน มีความชื่นชอบในรูปแบบการเรียนรู้และมียุทธวิธีในการเรียนรู้ที่ต่างกัน
–       บรรยากาศในการเรียนรู้ กล่าวคือการเรียนรู้ควรเกิดขึ้นได้ทุกที่ และทุกเวลา ทั้งในรูปแบบต่างและในความหมายต่างๆ ที่สามารถสร้างสรรค์ได้ บรรยากาศการเรียนรู้เช่นนี้จะช่งยสร้างเสริมให้นักเรียนมีส่วนร่วมและมีความ รับผิดชอบในการศึกษาของตน ดังนั้นนักเรียนได้ถูกเตรียมตัวในบรรยากาศที่แท้จริงด้วยกิจกรรมนอกห้อง เรียนที่จะเพิ่มการเรียนรู้ของนักเรียนในมิติต่างๆ
–       นักเรียนถูกกระตุ้นจากภายใน (มีแรงจูงใจของตัวเอง) มากกว่าถูกกระตุ้นจากภายนอก (แรงจูงใจจากภายนอก) หรือกล่าวง่ายๆ ว่านักเรียนมีแรงจูงใจจากภายในไม่ใช่จากภายนอก ยกตัวอย่างเช่น นักเรียนพิมพ์รายงานส่งเพราะนักเรียนต้องการสร้างความภูมิใจให้งานของตัวเอง ไม่ใช่ต้องการให้คนอื่นชื่นชมวิธีการนำเสนอนี้
ทำไมต้องเปลี่ยนมาเป็นรูปแบบการเรียนรู้ใหม่นี้
การเรียนรู้แบบดั้งเดิมมีปัญหาอะไรหรือ
เพื่อเป็นการตอบคำถามสองข้อนี้ เราต้องมองย้อนกลับไปถึงการวิเคราะห์ธรรมชาติของการเรียนรู้แบบดั้งเดิมที่ ครูเป็นศูนย์กลางก่อน และดูถึงผลที่ได้รับจากการเรียนรู้แบบดั้งเดิมต่อผู้เรียน เพื่อให้เข้าใจว่าทำไมแนวทางการเรียนรู้แบบนักเรียนเป็นศูนย์กลางจึงควรได้ รับการสนับสนุนให้เป็นทางเลือกใหม่
แนวคิด ครูเป็นศูนย์กลาง ได้รับอิทธิพลมาจากแนวความคิดที่ว่าองค์ความรู้นั้นคือบางอย่างที่สามารถส่ง ต่อจากครูสู่นักเรียนได้ เสมือนการเรียนรู้แบบสองมิติ โดยโครงสร้างว่าครูสู่นักเรียน  ในห้องเรียนครูเสมือนเป็นบุคคลที่ได้รับมอบ หมายให้มีหน้าที่พัฒนาความรู้และทักษะ ประเมินและแก้ไขการปฏิบัติของผู้เรียนตามกฏเกณฑ์ที่ครูท่านนั้นได้ตั้งขึ้น ไว้ นักเรียนคือผู้รับความรู้และคาดหวังว่าครูจะควบคุมจัดการเบ็ดเสร็จในกระบวน การเรียนรู้นั้น ดังนั้น กระบวนการเรียนรู้ที่ปฏิบัติในห้องเรียนแบบไม่มีการโต้ตอบที่ใช้กันทั่วไป นี้มีการประยุกต์มาจาก IRE คือ ครูริเริ่ม นักเรียนตอบสนอง และครูประเมินผล (Mehan,1979)
ในรูปแบบ IRE ครูผู้สอนจะอยู่ด้านหน้าของชั้นเรียนเสมอ ให้ความรู้ ถามนักเรียนเพื่อให้นักเรียนแสดงว่าเข้าใจความรู้ที่เพิ่งสอนไป จากนั้นประเมินผลการปฏิบัติหรือคำตอบของนักเรียน การสอนแบบครูเป็นศูนย์กลางนี้ยังรากลึกในสังคมไทย สังคมที่ระบบ “ผู้ใหญ่ ผู้น้อย” เป็นคุณค่าสำคัญของสังคม เนื่องจากคนไทยให้ความสำคัญกับการที่ผู้น้อยควรเคารพผู้ใหญ่ ตามลำดับ และเกี่ยวข้องกับเรื่องอำนาจสิทธิ์ขาด (Williams, 1980)  ดังนั้นครู ผู้ที่มีสถานะสูงกว่านักเรียน ผู้ที่ถือได้ว่าเป็นพ่อแม่คนที่สอง หน้าที่ของครูมิใช่เพียงสั่งสอนความรู้ สั่งสอนคุณธรรม และกล่อมเกลานักเรียนให้เป็นพลเมืองที่ดีของชาติด้วย ด้วยภาพลักษณ์ที่คนทั่วไปมองครูว่าเป็น “ผู้รู้โดยชอบธรรม” ผู้ประสิทธิ์ประสาสตร์ความรู้เช่นนี้แล้ว ไม่ต้องกล่าวเลยว่าในกระบวนการเรียนรู้ ครูจึงผู้วางไว้เป็นศูนย์กลาง ไม่ใช่ผู้เรียนหรือนักเรียนเป็นศูนย์กลาง
ด้วยปัจจัยทั้งสองที่กล่าวมาแล้วคือระบบ ผู้ใหญ่ ผู้น้อยของสังคม และรูปแบบการส่งทอดทางการศึกษานี้ เราก็จะเข้าใจได้ชัดเจนขึ้นว่าทำไมครูไทยจึงจำเป็นต้องคงภาพลักษณ์ความเป็น “ผู้รู้โดยชอบธรรม” ด้วยการยึดรูปแบบการเรียนการสอน แบบครูยืนหน้าห้อง และการสอนแบบ IRE ไว้
อย่างไรก็ตาม โชคร้ายมากที่ระบบการสอนที่ครูไทยนิยมปฏิบัตินี้มีข้อเสียอย่างมาก รูปแบบนี้ได้ส่งให้ผู้เรียนเป็นผู้รับความรู้โดยไม่โต้ตอบ เป็นผู้ฟัง จำ และซึบซับข้อมูลที่ส่งมาโดยผู้รู้ นักเรียนไม่ใช่ผู้ริเริ่ม หรือผู้มีข้อสงสัยต่อสิ่งที่เรียนรู้
นักเรียนไม่ได้ถูกฝึกให้ใช้ความคิดอย่างวิเคราะห์ วิจารณ์หรือสะท้อนเปรียบเทียบ ซ้ำร้ายไปกว่านั้น ระบบการศึกษานี้ไม่ได้เตรียมนักเรียนให้เป็นผู้เรียนรู้อย่างอิสระ ที่ตระหนักว่าความรู้มีโครงสร้งและสามารถเรียนได้หลายรูปแบบ นักเรียนไม่ตระหนักเห็นคุณค่าของการเรียนรู้ ไม่ตระหนักว่าการเรียนรู้เป็นกระบวนการต่อเนื่องตลอดชีวิต ทั้งยังไม่เข้าใจว่าไม่มีคนอื่นที่มีส่วนรับผิดชอบการเรียนรู้ของตนเองนอก จากตัวผู้เรียนเอง
เพื่อให้เท่าทันโลกที่เปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็วของข้อมูลข่าวสารและ เศรษฐกิจที่ต้องการทักษะการคิดวิเคราะห์ เราต้องเสริมสร้างนักเรียนของเรา เราต้องสร้างให้นักเรียนของเราคิดอย่างวิเคราะห์และคิดอย่างอิสระ และรู้รับผิดชอบ และมีส่วนร่วมกับการเรียนรู้ของเขา นักเรียนต้องสามารถกำหนดทิศทางของตัวเองและเป็นผู้มีส่วนร่วมที่กระตือ รือร้นในบริบทการเรียนรู้เชิงวิชาการนี้ ด้วยความสำคัญเหล่านี้ ถึงเวลาแล้วที่เราต้องพัฒนาการให้ความรู้จากแบบสองมิติ ครูสู่นักเรียน ไปเป็นโครงสร้างแบบนักเรียนเป็นศูนย์กลางการเรียนรู้เชิงสามมิติ ที่ที่นักเรียนและครูมีส่วนร่วมในการพัฒนาโครงงาน ตามคำกล่าวของ วาตานาเบ (1999) “เราต้องอนุญาตให้การมีส่วนร่วมเชิงลึกในกระบวนการเรียนรู้ ผ่านนักเรียนละครูอย่างเข้มแข็ง การมีส่วนร่วมที่เปิดโอกาสให้เกิดการสร้างสรรค์อย่างไม่มีข้อจำกัด”
จะทำให้การการเรียนรู้แบบนักเรียนเป็นศูนย์กลางปฏิบัติได้จริง อย่างไร
อย่างที่กล่าวมาแล้วขั้นต้น ครูเป็นศูนย์กลางเป็นแกนสำคัญของระบบการศึกษาของเรามาช้านาน ดังนั้น ความตั้งใจในการทำให้การเรียนรู้แบบนักเรียนเป็นศูนย์กลางเกิดขึ้นได้จริง นั้น สิ่งแรกคือการต้องทำคือการแก้ไขทัศนคติการเรียนการสอน ทัศนคติเดิมๆ ที่เน้นให้ความรู้เป็นวัตถุที่สามารถส่งต่อกันได้ การสอนคือการนำเสนอความรู้ และการเรียนคือการซึบซับความรู้ ทั้งหมดนี้ต้องได้รับการปฏิรูป เราต้องนำทัศนคติและแนวคิดใหม่เข้าไป ทัศนคติที่ว่าความรู้เป็นสิ่งสามารถจัดโครงสร้างได้ การสอนคือการจัดบรรยากาศและสิ่งแวดล้อมที่เอื้อให้เกิดการเรียนรู้ และการเรียนรู้คือกระบวนการของการเรียนรู้ว่าจะเรียนอย่างไร  ตามรูปแบบการ เรียนรู้ใหม่นี้ นักเรียนและครูต้องปรับบทบาทและหน้าที่ใหม่ เพื่อให้เข้ากับกระบวนการเรียนรู้ โครงร่างคร่าวๆ ของการปรับบทบาทดังกล่าวมีดังต่อไปนี้
บทบาทของครู
บทบทของครูในห้องเรียนแบบนักเรียนเป็นศูนย์กลางการเรียนรู้นั้นมีคุณ ค่าและต้องมีความพิถีพิถันมากกว่ารูปแบบเดิมที่ให้ครูเป็นศูนย์กลาง
ครูมีความจำเป็นต้องปฏิบัติดังนี้
  • เปลี่ยนจากผู้มีอำนาจและนำเสนอความรู้ทั้งหมด มาเป็นผู้ให้คำแนะนำ ชี้แนะ ผู้สร้างบรรยกาศที่นักเรียนจะสามารถมีแรงจูงใจ สนใจและตั้งข้อสงสัยเกี่ยวกับบทบาทของตัวเองในการเรียนรู้
  • สร้างบรรยากาศในการเรียนรู้ที่จะสร้างแรงจูงใจและท้าทายผู้เรียน กระตุ้นการคิดอย่างวิเคราะห์และสร้างกระบวนการเรียนรู้อย่างมีโครงสร้าง ยกตัวอย่างเช่น ครูสามารถเสริมสร้างทักษะการคิดของผู้เรียนผ่านการทำกิจกรรม เช่น การหาเหตุผล การตัดสินใจ การสะท้อนความคิด การพูดโน้มน้าวและการแก้ปัญหา กิจกรรมเหล่านี้กระตุ้นนักเรียนให้มีส่วนร่วมทั้งทางกายภาพและความเข้าใจใน เนื้อหากิจกรรม โดยเฉพาะอย่างยิ่ง กิจกรรมที่กล่าวมาในช่วงท้ายๆ สามารถสร้างบรรยากาศที่เปิดโอกาสให้นักเรียนทบทวนปัญหาที่ซับซ้อน ให้ทรัพยากรจากหลากหลายแหล่ง พัฒนายุทธวิธีของตนเองในการเข้าใจปัญหา และสามารถนำเสนอและต่อรองเพื่อให้ได้ทางออกของปัญหาด้วยอาศัยความร่วมมือกัน ได้
  • ส่งเสริมการเรียนรู้แบบเกื้อกูลกัน การส่งเสริมและเกื้อกูลกันระหว่างนักเรียนเป็นองค์ประกอบสำคัญในรูปแบบการ เรียนรู้แบบนักเรียนเป็นศูนย์กลาง ทำงานเป็นทีม ตามงานวิจัยของ โคโฮเนน การเรียนรู้อย่างเกื้อกูลกันจะสามารถสร้างการพึ่งพากันในเชิงบวกและความรับ ผิดชอบส่วนตัวแก่ผู้เรียนได้ เมื่อสมาชิกในทีมได้มีส่วนร่วมออกความเห็น ลงแรง และรับผิดชอบร่วมกันในการช่วยเหลือเพื่อนร่วมทีมในการเรียนรู้ การประสานงานกันยังสามารถสร้างเสริมให้ผู้เรียนเติบโต พัฒนาทักษะการเข้าสังคมและการเรียนรู้ และช่วยให้ผู้เรียนจิตนาการถึงโครงสร้างความรู้ของตนเอง โดยผ่านการแลกเปลี่ยนความคิดเห็น
  • ยอมรับความแตกต่างของแต่ละคน แต่ละคนมีรูปแบบการเรียนรู้ต่างกัน ครูควรจัดกิจกรรมที่หลากหลาย ให้ทางเลือกแก่ผู้เรียนในการเลือกและลงรายละเอีอดกิจกรรมของตัวเอง เป็นรายบุคคลไป
  • สนับสนุนความคิดที่ว่าแหล่งความรู้ไม่ได้ปิดกั้นอยู่เพียงในเขตกำแพงของ ห้องเรียนเท่านั้น ความรู้อาจอยู่ข้างนอก ยกตัวอย่างแหล่งความรู้นอกห้องเรียน อาจรวมถึง พ่อแม่ ผู้ใหญ่ในชุมชน บรรณารักษ์ พิพิธภัณฑ์ โบราณสถาน โบราณวัตถุ หรือแม้แต่อินเตอร์เน็ท
  • นำ “การประเมินผลตามจริง” มาใช้ (“Authentic Assessment,” 2001) หรือการประเมินผลที่ทบทวนความสามารถในการร่วมมือกันของนักเรียน มีเกณฑ์อ้างอิงได้ และขึ้นอยู่กับการปฏิบัติได้จริง มากกว่าการประเมินตามเกณฑ์มาตรฐาน
  • นำเอาประสบการณ์ที่แตกต่างของผู้เรียน จากหลากหลายสาขาและพื้นฐานมามีส่วรร่วมในการเรียนรู้ และสำคัญยื่งไปกว่านั้นคือการทำการเรียนการสอนเป็นทีม เพื่อให้ได้ผู้การเรียนแบบบูรณาการ ยกตัวอย่างเช่น ครูที่มีความชำนาญเฉพาะทางที่แตกต่างกัน เช่น การท่องเที่ยว ชีววิทยา สามารถทำงานร่วมกัน สามารถสร้างสาระวิชาใหม่ขึ้นเพื่อปูพื้นฐานเบื้องต้นเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม
  • สร้างความเชื่องโยงระหว่างความรู้และประสบการณ์เดิมที่นักเรียนมีอยู่ กับการเรียนรู้ใหม่ ทั้งนี้ต้องตระหนักว่าประสบการณ์การเรียนรู้ที่เป็นประสบการณ์ส่วนบุคคลของ นักเรียนแต่ละคนนั้นเรียนรู้ได้ง่ายแต่มักถูกหลงลืมง่ายเช่นกัน
บทบาทของนักเรียน
ในทิศทางใกล้เคียงกัน นักเรียนมีบทบาทสำคัญมากในกระบวนการเรียนรู้ นักเรียนไม่สามารถมองเห็นว่าตนเองเป็นแก้วที่ว่างเปล่ารอการเติมเต็ม ในทางกลับกัน นักเรียนต้องปฏิบัติดังนี้
  • เปลี่ยนจากความเชื่อเดิมที่ว่า “ความรู้ถูกส่งผ่านโดยครู” มาเป็นความเข้าใจใหม่คือ “ความรู้ที่สร้างได้” และตระหนักว่านักเรียนมีส่วนรับผิดชอบในการสร้างองค์ความรู้ของตัวเอง
  • เปลี่ยนจากการเป็นผู้รับสาระทางเดียว มาเป็นผู้มีส่วนร่วมในการเรียนรู้ที่กระตือรือร้น และใส่ใจในกิจกรรมและในแง่มุมต่างๆ ในการเรียนรู้ (ทั้งทางกายภาพและความเข้าใจ) ว่าทั้งหมดนั้นถือเป็นหน้าที่ของครูโดยทั่วไปของครูในกิจกรรมการสอนแบบเดิม
  • ตั้งเป้าหมายที่มีความหมายเมื่อจบกิจกรรมการเรียนรู้นี้ สร้างความรับผิดชอบให้ตัวเองมากขึ้นในการบรรลุเป้าหมายนั้น เคยประเมินพัฒนาการ เพื่อจะได้ปรับยุทธศาสตร์การเรียนรู้ที่ตนใช้เพื่อการบรรลุเป้าหมายอย่างมี ประสิทธิภาพ
การใช้เทคโนโยลีเป็นองค์ประกอบสำคัญใรการเรียนรู้แบบนักเรียน เป็นศูนย์กลางหรือไม่
ไม่ต้องสงสัยเลยว่าในศตวรรษที่ 21 เทคโนโลยีมีความสำคัญเพิ่งขึ้นอย่าง ยิ่ง มีผลกับไม่เพียงแต่กับวิถีการใช้ชีวิตของเรา การดำเนินธุรกิจ การสื่อสารกับคนอื่น แต่ยังมีผลกับวิธีการเรียนการสอนของเรา จากเอกสารของ ทซัง โคส์มา กล่าวว่าโลกธุรกิจเรียกร้องให้โรงเรียนเตรียมนักเรียนนักศึกษาให้มีทักษะ พร้อมทำงานเป็นทีม สามารถแก้ปัญหาได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถปฏิบัติงานและประมวลข้อมูล และสำคัญยิ่งกว่านั้นคือ สามารถใช้เทคโนโลโยลีได้อย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อการผลิตและการปฏิบัติอย่างเต็มกำลัง ยกตัวอย่างเช่น ความท้าทายและเป้าหมายการศึกษาของโรงเรียนควรมุ่งเน้นการสร้างบรรยากาศการ เรียนรู้ที่นำเทคโนโลยีมาร่วมใช้ พร้อมทั้งปลูกฝังทักษะที่จำเป็นต่างๆ เพื่อช่วยนักเรียน
หากนำเทคโนโลยีมาใช้อย่างถูกต้อง เทคโนโลยีที่กล่าวนี้เช่น สื่อการฟัง สื่อภาพเคลื่อนไหว คอมพิวเตอร์อินเตอร์เน็ท จะช่วยเสริมบรรยากาศการเรียนโดยใช้เทคโนโลยีเหล่านี้อย่างมีประสิทธิภาพ ใช้ให้เป็นเช่นสื่อหรือเครื่องมือในการสร้างเสริมการเรียนของนักเรียน คุณประโยชน์ของเทคโนโลยีในการศึกษาได้ถูกกล่าวไว้คร่าวๆ โดยNCREL (2003)
  • เทคโนโลยีสามารถเปลี่ยนบริบทกิจกรรมการเรียนจากครูเป็นศูนย์กลางสู่นัก เรียนเป็นศูนย์กลาง ให้นักเรียนควบคุมบริบทการเรียนของตัวเองมากขึ้น สร้างสรรค์บรรยากาศการเรียนอย่างเกื้อกูลกัน และมีการอำนวยความสะดวกให้เข้าถึงแหล่งข้อมูลและสื่อสารกับสังคมได้หลายวิธี โปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่สามารถโต้ตอบได้สามารถเป็นตัวนำที่ดีในรูปแบบการเรียน แบบผู้เรียนเป็นศูนย์กลางนี้
  • เทคโนโลยีสามารถสร้างกิจกรรมที่ทำให้ผู้เรียนได้ลองปฏิบัติจริง และเข้าใจอย่างแท้จริง โปรแกรมที่กระตุ้นให้นักเรียนฝึกทักษะการแก้ปัญหาทั้งทางกายภาพและจิตใจ กิจกรรมดังกล่าวสามารถสร้างความชำนาญในบริบทที่เสริมขึ้น ทำให้ทักษะพื้นฐานต่างๆ แข็งเกร่ง ช่วยให้นักเรียนพัฒนาไปในระดับที่สูงขึ้น เพิ่มจุดเชื่องต่อของโครงสร้างความรู้กับชีวิตนักเรียน สามารถแจ้งการประเมินผลแก่ผู้เรียน และที่ดีที่สุดคือสามารถสร้างแรงจูงใจนักเรียนได้ ยกตัวอย่างเช่น การใช้แบบเรียนอีเลคโทรนิค ที่เราเห็นกันบ่อยในรูปแบบของซีดี สามารถทำให้กิจกรรมการอ่านที่น่าเบื่อจากเอกสารสิ่งพิมพ์ให้เป็นกิจกรรมที่ ตื่นเต้นและมีการโต้ตอบได้
  • โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เทคโนโลยีอย่างอินเตอร์เนท เป็นเครื่องมือที่เหมาะกับผู้เรียนอย่างยิ่ง อินเตอร์เนทสามารถสร้างบรรยากาศการเรียนรู้ให้แก่ผู้เรียนด้วยการฝึกปฏิบัติ ฟังการประเมินเพื่อปรับปรุงความเข้าใจ สร้างองค์ความรู้ใหม่ และสะท้อนความคิด(“Preparing Tomorrow’s Teachers,” 2003).
อะไรจะเป็นอุปสรรคบ้างในการเรียนการสอนแบบนักเรียนเป็นศูนย์ กลาง
อุปสรรคที่อาจจะเกิดขึ้นในการนำรูปแบบการเรียนการสอนใหม่นี้ไปใช้ ได้แก่
  • ครูบางท่านปฏิเสธการปลี่ยนแปลง ด้วยความเชื่อเดิมๆ และการปฏิบัติที่คุ้นเคย การปฏิเสธนี้อาจเกิดขึ้นจากภาพลักษณ์ของ “ผู้รู้โดยชอบธรรม” หรือ “ผู้ประสิทธิ์ประศาสตร์ความรู้” ฝังอยู่ในหัว ครูเหล่านี้เห็นภาพด้วยเองว่าได้รับการมอบหมายให้สอน ชี้นำ อำนวยการและควบคุมนักเรียน ดังนั้นจึงกลัวที่จะทำสิ่งอื่นที่แตกต่างออกไป เห็นว่าการเปลี่ยนแปลงนี้ทำลายสถานะและอาชีพของตน
  • ครูจำนวนไม่น้อยไม่ยินดีที่จะปฏิบัติตามแนวทางใหม่ ด้วยเห็นว่าวิธีที่ตนเองใช้สอนอยู่นั้นดีอยู่แล้วดังนั้นจึงไม่เห็นความจำ เป็นที่จะต้องเปลี่ยน เหตุที่ครูเหล่านี้ยึดมั่นว่าวิธีที่ทำงานอยู่ปัจจุบันดีอยู่แล้ว ครูเหล่านี้จึงไม่เปิดตัวเองสู่ความคิดและความเป็นไปได้ใหม่ๆ
  • ครูบางท่านเร่งรีบที่จะใช้รูปแบบการสอนใหม่นี้ โดยยังไม่เข้าใจถึงหลักการที่แท้จริงหรือยังไม่มีโอกาสได้คิดถ้วนถี่ หรือยังไม่ได้วางแผนการสอนไว้ระมัดระวัง ครูเหล่านี้มีความประสงค์ที่แรงกล้าที่จะเปลี่ยน หากแต่ไม่ได้พิจาณณาถึงประเด็นทางวัฒนธรรมหรือพิจารณาถึงสภาพชั้นเรียนของตน
  • ครูบางท่านยังขาดความเข้าใจและทักษะในการประสานเทคโนโลยีเข้ากับการสอน น่าเสียดายที่ครูจำนวนมากมีความรู้ด้านคอมพิวเตอร์ค่อนข้างน้อยและไม่ใส่ใจ เรียนรู้เพิ่มเติม ในขณะที่บางท่านมีความต้องการหาความรู้ด้านคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีเพิ่ง เติมแต่ขาดอุปกรณ์และการสนับสนุน ครูเหล่านี้เห็นคุณค่าและประโชยน์ของคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีแต่รู้สึกอึด อัดเพราะท่านเหล่านี้ไม่ได้ถูกอบรมหรือฝึกฝนให้ใช้เทคโนโลยีเหล่านี้ในชั้น เรียน
  • อาจเกิดกรณีที่ครูพยายามตอบสนองความต้องการของนักเรียนอย่างจริงจัง แต่โครงสร้างขององค์กรหรือนโยบายการสถานศึกษาอาจไม่เอื้ออำนวย ซึ่งเป็นการขัดขวางความพยายามที่จะให้นักเรียนเป็นศูนย์กลางมากขึ้น
  • นักเรียนบางกลุ่มต่อต้านการเรียนการสอนแบบใหม่ เพราะนักเรียนต้องการหลักฐานที่ชัดเจนว่าตนเองได้ถูกสอนบางอย่าง นักเรียนเหล่านี้เห็นเช่นดียวกับครูบางท่านที่ว่า ความรู้ถูกส่งผ่านกันมา และจะรอการป้อนความรู้จากครูเท่านั้น
มีตัววัดอะไรบ้างที่จะบ่งชี้ว่ารูปแบบการเรียนรู้แบบนักเรียน เป็นศูนย์กลางประสบความสำเร็จ
วัตถุเป้าหมายสูงสุดของการเรียนแบบนักเรียนเป็นศูนย์กลางคือการทำให้ นักเรียนรู้จัดทิศทางของตนเอง และเป็นผู้เรียนรู้แบบบูรณาการ (เรียนรู้ได้ตลอดชีวิต) หมายถึงครูสามารถช่วยเหลือ ชี้แนวให้นักเรียนเปลี่ยนจากการเรียนแบบพึ่งพาผู้อื่นมาเป็นผู้ที่สามารถหา ความรู้เองได้ ความสำเร็จในการนำแนวทางการเรียนรู้นี้ไปปฏิบัติสามารถดูได้จากขั้นตอนการ พัฒนาของนักเรียน ตามลำดับดังต่อไปนี้(“Steps Toward,” 1996)
ขั้นที่ 1: ผู้เรียนที่ต้องพึ่งพา (ไม่สามารถหาความรู้ได้ด้วยตนเอง)
ในขั้นแรกนี้ ผู้เรียนจะพึ่งพาครู ครูผู้นำพาความรู้ ให้โครงสร้างและทิศทางว่าต้องทำอะไร อย่างไร และเมื่อไร สำหรับนักเรียน การเรียนคือครูเป็นศูนย์กลาง นักเรียนจะไม่ได้รับโอกาสในการเลือกหรือฝึกควบคุมปฏิบัติในกระบวนการการ เรียน
ขั้นที่ 2:  ผู้เรียนที่มีความสนใจใส่ใจ
ในขั้นนี้ ผู้เรียนจะแสดงผลตอบสนองในเชิงบวก ต่อแรงกระตุ้นหรือทิศทางที่ครูกำหนด อย่างไรก็ตามแทนทีการให้ทิศทางแบบกำหนดตายตัว ครูสามารถเชื่องต่อความสนใจของนักเรียนกับบริบทการเรียนได้อย่างประสบความ สำเร็จ มีการตอบรับอย่างดี และสร้างบรรยากาศที่ดีในห้องเรียนหรือในชุมชนการเรียนรู้ ทั้งหมดนี้เป็นการตอกย้ำว่านักเรียนสนใจและมีความกระตือรือร้น
ขั้นที่ 3: ผู้เรียนที่มีส่วนร่วม
ในขั้นที่ 3 นี้ นักเรียนได้พัฒนาไปมากแล้ว นักเรียนจะเห็นว่าตนเองเป็นผู้มีส่วนร่วมในการเรียนรู้ของตนเองมากขึ้นและ มากขึ้น เห็นคูรค่าของประสบการณ์ชีวติที่ตนเองประสบมา และพร้อมกันนั้นจะเห็นคุณค่าของการเรียนรู้จากประสบการณ์ของผู้อื่น ผู้เรียนจะตอบสนองอย่างดีต่อการสอนแบบเกื้อกูลกัน
ขั้นที่ 4: ผู้เรียนที่สามารถกำหนดทิศทางตัวเองได้
ในขั้นนี้ ผู้เรียนสามารถกำหนดเป้าหมายของตัวเอง วางแผน และตั้งมาตรฐานได้ ผู้เรียนจะรับรู้ถึงความสามารถในการเรียนรู้อย่างอิสระ และรับผิดชอบต่อการเรียนของตน ครูไม่ต้องคอยบรรยาย แต่เป็นผู้ให้คำปรึกษา ตรวจสอบพัฒนาการ ให้คำแนะนำในกระบวนการเรียนรู้
การเรียนแบบนักเรียนเป็นศูนย์กลางนี้เป็นรูปแบบที่นักเรียนเป็นจุดสนใจ ของกระบวนการเรียน อย่างไรก็ตามในการเรียนรู้รูปแบบนี้ไม่ได้หมายความว่าครูจะต้องหลบฉาก ปล่อยให้นักเรียนดำเนินการเรียนรู้ตามลำพัง แต่หมายถึงเมื่อครูวางแผนการสอน ครูต้องพิจารณาถึงทัศนคติและความต้องการของนักเรียน และทำให้ทิศทางของกระบวนการการเรียนเป็นประโยชน์แก่นักเรียน และยังหมายถึงครูต้องจัดการการสอนในวิธีที่ทำให้นักเรียนรู้สึกเป็นส่วน หนึ่งของการเรียน เห็นคุณค่าต่อกระบวนการการเรียน และสามารถควบคุมการเรียนรู้ของตัวเองได้ การทำให้การเรียนรู้แบบนักเรียนเป็นศูนย์กลางเกิดขึ้นและใช้ได้จริงเป็นความ ท้าทายอย่างยิ่งของศตวรรษที่ 21 ขั้นตอนการประสานรูปแบบนี้เข้ากับระบบการ ศึกษาของเราต้องอาศัยการทำงานหนักและความพยายามอย่างยิ่ง จากครูและนักเรียนเช่นกัน
กุญแจสำคัญในการทำให้รูปแบบกาเรียนรู้นี้เกิดขึ้นจริงได้ ในส่วนของครู การศึกษาและใส่ใจกับหลักการของรูปแบบ และเห็นคุณค่าของรูปแบบนี้อย่างแท้จริงนั้นสำคัญยิ่ง จากการเข้าใจที่ถูกต้อง ครูจะสามารถเปลี่ยนความเชื่อและวิธีปฏิบัติเดิมๆ ครูจะสามารถตั้งเป้าหมายและมาตรฐานใหม่ ยังจะสามารถวางแผนการสอน โดยคำนึงถึงอะไรคือสิ่งที่ดีที่สุดสำหรับนักเรียน ในการเปลี่ยนแปลงนี้ครูยังสามารถพัฒนาตนเองและพัฒนาวิชาชีพตนเองด้วย เช่นเดียวกันในส่วนของผู้เรียน นักเรียนจะได้รับคำชี้แนะจากครู ต้องปรับตัวให้เข้ากับรูปแบบและกระบวนการเรียนรู้ใหม่นี้ นักเรียนต้องตระหนักว่าหากยังต้องการยืนอยู่ในโลกที่เปลี่ยนแปลงอย่างรวด เร็ว และอยู่บนโลกแห่งตลาดการแข่งขันที่มีความต้องการแรงงงานที่ได้รับการศึกษา ที่มีทักษะการคิดวิเคราะห์ การแก้ปัญหา การตัดสินใจได้ นักเรียนต้องเปลี่ยนวิธีปฏิบัติที่ทำมาทั้งชีวิตที่เป็นผู้รับมาตลอด ให้เป็นผู้กระตือรือร้นในการเรียน นักเรียนต้องติดอาวุธทักษะนี้ให้ตนเอง มีบทบาทควบคุมการเรียนรู้ เป็นผู้เรียนรู้ที่เป็นอิสระ (สามารถเรียนรู้ได้ด้วยตนเอง) และท้ายที่สุด ความหวังที่จะเห็นครูและนักเรียนสอนและเรียนร่วมกันในห้องเรียนจะนำไปสู่ บรรยากาศการเรียนรู้ที่มีประสิทธิผลและมีค่ายิ่ง
เอกสารอ้างอิง
Authentic assessment. (2001). Retrieved April 19, 2003, from
http://www.funderstanding.com
Bansberg, B. (2003). Applying the learner-centered principles to the
special case of literacy. Theory into Practice, 42 (2), 142-147.
Bush, T., & Saye, J. (2000). Implementation and evaluation of a
student-centered learning unit: A case study. Educational
Technology, Research and Development, 48 (3), 79-91.
Fink, L. D. (2002). Active learning. Retrieved April 5, 2003, from
http://www.hcc.hawaii.edupage 70 SLLT 2003
Glassglow, N. (1997). New curriculum for new times: A guide to
student-centered, problem-based learning. Thousand Oaks, CA:
Corwin.
Kohonen, V. (1992). Experiential language learning: Second language
learning as cooperative learner education. In D. Nunan (Ed.),
Collaborative language learning and teaching (pp. 17-32).
Cambridge: Cambridge University Press.
Mehan, H. (1979). Learning lessons. Cambridge, MA: Harvard
University Press.
North Central Regional Educational Laboratory (NCREL). (2003).
Focus on student-centered learning/Support professional
development. Retrieved March 27, 2003, from
http://www.ncrel.org
Preparing tomorrow’s teachers to use technology. (2003). Retrieved
March 3, 2003 from http://www.pt3.org/technology/
tech_learning.html
Steps toward becoming a self-directed learner. (1996). The Teaching
Professor, 10 (4). Retrieved March 3, 2003  from
http://www.oaa.pdx.edu/CAE/FacultyFocus/spring96/excerpt.html
Tsang-Kosma, W. (2003). Student-centered learning + technology =
rethinking teachers’ education. Retrieved March 27, 2003, from
http://www.gsu.edu
Watanabe, Y. (1999). Second language literacy through studentcentered learning. The Internet TESL Journal, 5 (2). Retrieved
March 2, 2003  from  http://iteslj.org/Articles/CaprioStudentCentered.html
Williams, D. L. (1980). Thai ways and my ways (Report No. SO
015980). Dekalb, IL: Northern Illinois University, Center for
Southeast Asian Studies. (ERIC Document Reproduction Service
No. ED 231183)
เกี่ยวกับผู้เขียน
Asst. Prof. Chutima Thamraksa obtained her Ph.D. in English Rhetoric and Linguistics from Indiana University of Pennsylvania, U.S.A. in 1997, M.A. in English for Non-Native Speakers and a Certificate in Teaching English as a Second Language (TESL) from
Central Missouri State University, U.S.A. in 1988, and B.Ed. in English from Chulalongkorn University in 1985.
She is currently the Chairperson of the English Department, School of Humanities,
Bangkok University.
Her publications include three textbooks: Exploring through Writing: An Advanced Rhetoric; Report Writing;SLLT 2003 page 71 Critical Reading, and articles on Virtual schooling: a technological and educational revolution, and The use of ICT on language teaching