Categories
Pathway Schools

Distance Learning between a Thai High School and an American High School.การศึกษาทางไกลระหว่างโรงเรียนมัธยมปลายในไทยและอเมริกา

Distance Learning between a Thai High School and an American High School.

From the Lodi Enterprise e News [Wisconsin, USA]

Tale of two schools
Learning goes global in Lodi pilot program

 

Lodi students greet Thai teacher Karnteera “Tuke” Ingkhaninan via Skype before she shows them how to make beef curry as part of an international distance learning class.
Photo Jennifer Fetterly

 

Students at Sa-nguan Ying School in Supan Buri, Thailand get ready for the distance learning class taught by Lodi teacher Mark Kohl via Skype.
Contributed photo

By Jennifer Fetterly
Managing Editor

Beef and green curry sizzle in hot woks as Lodi High School students prepare lunch on a cold December morning.

As the strong aromas rise to the students’ noses, it’s clear it’s not just another typical school day.

Teens, some who have never had Thai food before, are bridging a cultural gap tens of thousands of miles away as teacher Karnteera “Tuke” Ingkhaninan, warns them of their first time experience.

“Maybe you should just start with one tablespoon of curry paste, and go from there,” she cautions the Lodi students about her homeland’s fiery spice via Skype.

But far from being timid, the students jump right in, not only to the food but to the distance learning program, which started this year, with sister school Sa-nguan Ying in Supan Buri, Thailand.

As part of the arrangement, Lodi High School teacher Mark Kohl instructs Thai students in U.S. History and Tuke reciprocates by teaching Lodi students the Cultural Geography of Southeast Asia.

Senior Breanna Smith enrolled in the class after visiting Thailand on a school trip last year, eager to learn more.

“It is really cool being taught by a teacher that is actually in that country, who can clarify things, compared with learning from a textbook. In a normal class, if you have questions you have to look on the Internet, but Tuke just knows, so it is more true to me,” Smith says as she cuts vegetables for the beef curry recipe.

Other students who are part of the class have never been to Thailand but their curiosity for learning enticed them to enroll.

Besides teaching Thai cuisine, Tuke has brought the students a harsher reality of Southeast Asian history like the genocide of the “Killing Fields” in Cambodia, where the Khmer Rouge killed millions. The students also learn about how the harvesting of palm oil, found in peanut butter and chewing gum, is destroying the jungles, along with the orangutans that live there.

Janel Anderson, who is the Lodi resource teacher for the Southeast Asia class, says the students’ intent interest is enough reason to continue the two-year pilot program.

“Students start to understand that they are participants in this whole global community, that we are all connected, that is what I want them to understand,” Anderson says. “In some ways it is easier for Tuke to get them to see it, she is part of the world and she has more credibility, not like an American teacher telling them how bad things were there.”

While distance learning in Wisconsin’s public and secondary schools isn’t new, Lodi’s international spin is setting precedence. According to Wisconsin Department of Public Instruction (DPI) the Lodi initiative is the only one in the state where students are taking a credit class taught by a foreign teacher.

And it’s all done on a shoestring budget of $2,000, money that was used to purchase a laptop computer where teachers can interact with students via Skype, a videoconference Internet system. The Lodi School Board approved the program on the condition, other than the one-time technology budget, that there wouldn’t be any additional staff costs.

Kohl, who teaches in the evening, for Thai students who must be in their seats by 7 a.m. because of the 13-hour time difference, says he thought the biggest challenge would be technology but there have been only a few instances of blurry video and dropped connections.

While the Thai school has excellent equipment, the distance learning concept, with less equipped schools may hinder its expansion.

“I think in some ways international distance learning is part of the future but I think that we are far off from this being the norm because there are lot of infrastructure issues. I have tried to do this with teachers in other countries and one of the problems on their end is having the technology and expertise. We are wealthy and technology rich as a nation but the people of some other countries don’t have that,” Anderson says.

But aside from the challenges, supporters of the learning concept, says it teaches so much more than a curriculum.

This January, Kohl taught 22 Thai students in seventh-12th grade about the civil rights movement. The last class before test time, fell on Martin Luther King’s birthday, so pictures of the African-American leader giving his “I have a dream speech” in Washington D.C. finished the class.

Some of his Thai students respectfully call Kohl “the smartest history teacher” ever.

“It is great to learn more about U.S. history’s real stories, truths and gain more knowledge thoroughly from the expert like Kru (Mr.) Mark,” says Piyaorn Kamwhan.

Other Thai students have learned more far-reaching concepts in the sought-after class.

“As you had seen in our class we don’t have enough self confidence to ask questions because when we was young if we have some stupid question our friend will laugh at us,” says Non Bunsrisuwan. “In Thailand the student must respect the teacher and it like our culture and it makes us far away from teacher. But in distance learning we get so close with Kru Mark. He is like one of our family what we had to see every morning.”

Kohl, says the relationship is so strong, that when some Thai students were left homeless from a Chinese New Year’s fireworks explosion in January, he rallied school staff to raise money to help those affected.

As the program gets ready to enter its second year, supporters are hopeful it will continue.

“After talking with staff here and in Thailand we all agreed that this has exceeded our expectations in every facet, the technology, how we relate, the quality of instruction and it was a good investment. It has been very successful at both ends,” Kohl says.

การศึกษาทางไกลระหว่างโรงเรียนมัธยมปลายในไทยและอเมริกา

จาก The Lodi Enterprise e news (วิสคอนซิน, สหรัฐอเมริกา)

ตำนานของการเรียนรู้ระหว่างสองโรงเรียนในโครงการนำร่องของโลดี้

 

นักเรียนโรงเรียนLodiทักทายอาจารย์กัณฐิราหรือ “ครูตุ๊ก” ผ่านหน้าจอโปรแกรม สไกป์ ก่อนอาจารย์จะแนะนำเด็กๆถึงวิธีทำแกงเขียวหวานเนื้อ อันเป็นส่วนหนึ่งของชั้นเรียนการเรียนรู้ทางไกลระหว่างประเทศ

ภาพโดยเจนนิเฟอร์ เฟเทอร์รี่

 
นักเรียนของโรงเรียนสงวนหญิงในจังหวัดสุพรรณบุรีเตรียมตัวสำหรับคาบเรียนการเรียนรู้ทางไกลที่สอนโดยอาจารย์มาร์ค โคฮ์ลแห่งโรงเรียนโลดี้ผ่านโปรแกรมสไกป์

Contributed photo

โดยเจนนิเฟอร์ เฟเทอรี่

บรรณาธิการเรียบเรียง

เนื้อและน้ำแกงเขียวหวานเดือดปุดๆอยู่ในหม้อขณะนักเรียนกำลังเตรียมตัวสำหรับมื้อกลางวันในเช้าเย็นๆของเดือนธันวาคม

กลิ่นหอมเข้มข้นที่เด็กๆได้กลิ่น บ่งบอกชัดว่าโรงเรียนวันนี้จะไม่ใช่วันเดิมๆอย่างทุกวัน

นักเรียนบางคน ที่ไม่เคยลองอาหารไทยมาก่อนเลยในชีวิต กำลังก้าวข้ามสะพานของช่องว่างทางวัฒนธรรมที่กว้างเป็นหมื่นๆไมลล์ขณะที่ครูตุ๊กให้คำเตือนสำหรับพวกเขาในการสัมผัสประสบการณ์ครั้งแรก

“ลองชิมช้อนเล็กๆก่อน แล้วค่อยเริ่มจากตรงนั้น” เธอเตือนเด็กๆถึงรสชาติจัดจ้านของอาหารบ้านเกิดของเธอเองผ่านหน้าจอ

แต่โดยปราศจากความกลัว เหล่านักเรียนโดดลงมาเต็มตัว ไม่เพียงเฉพาะเรื่องอาหารแต่รวมถึงการเข้าร่วมการศึกษาทางไกลที่เพิ่งเริ่มในปีนี้ ร่วมกับโรงเรียนพี่น้องอย่างโรงเรียนสงวนหญิงในจังหวัดสุพรรณบุรี

ส่วนหนึ่งของโครงการนี้ อาจารย์มาร์ค โคลฮ์ จะสอนนักเรียนไทยเกี่ยวกับประวัติศาสตร์ของสหรัฐอเมริกาในขณะที่ครูตุ๊กจะสอนเด็กๆที่โลดี้เกี่ยวกับภูมิศาสตร์วัฒนธรรมของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้

นักเรียนม.5 เบรียนนา สมิธ ลงเรียนในวิชานี้หลังการไปทัศนศึกษาที่ประเทศไทยกับโรงเรียนเมื่อปีที่แล้ว เธอปรารถนาที่จะเรียนรู้ให้มากขึ้น

“มันยอดมากๆที่เราได้รับการสอนจากครูที่อยู่ในประเทศนั้นจริงๆ คนที่สามารถอธิบายเรื่องต่างๆได้ชัดเจนกว่าเมื่อเทียบกับการเรียนจากหนังสือ ในชั้นเรียนทั่วไป เมื่อคุณมีข้อสงสัยคุณต้องไปหาข้อมูลในอินเทอร์เน็ท แต่ครูตุ๊กรู้เรื่องนั้นดีอยู่แล้ว มันสมจริงสมจังมากกว่าสำหรับเรา” สมิธว่าอย่างนั้นขณะที่กำลังหั่นผักสำหรับใส่ในแกงเนื้อ

นักเรียนคนอื่นๆในชั้นไม่เคยไปประเทศไทยมาก่อน แต่ความกระหายที่จะเรียนรู้ชักจูงพวกเขาให้ลงเรียน

นอกจากการสอนการทำอาหารไทย ครูตุ๊กยังสอนนักเรียนถึงความจริงอันมืดมนของประวัติศาสตร์ของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เช่นเหตุการณ์ฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ที่เกิดขึ้นใน “ทุ่งสังหาร” ในกัมพูชา ที่ซึ่งทหารเขมรแดงฆ่าชาวบ้านนับล้าน เด็กนักเรียนยังได้เรียนรู้ว่าทำไมการปลูกปาล์มน้ำมัน ที่เราใส่มันในเนยถั่วและหมากฝรั่ง ถึงเป็นการทำลายพื้นที่ป่าดิบ รวมไปถึงชีวิตของลิงอุรังอุตังที่อาศัยอยู่ที่นั่น

จาเนล แอนเดอสัน ครูที่ปรึกษาในชั้นเรียนวิชาเอเชียตะวันออกเฉียงใต้กล่าวว่า ความตั้งใจที่จะเรียนรู้ของนักเรียนเป็นเหตุผลเพียงพอที่จะดำเนินการโครงการนำร่องนี้ต่อไป

“นักเรียนเริ่มที่จะเข้าใจว่าพวกเขาเป็นส่วนหนึ่งของชุมชนสังคมโลกใบนี้ เข้าใจว่าพวกเราทั้งหมดเชื่อมโยงถึงกัน นั่นคือสิ่งที่เราต้องการให้พวกเขาเข้าใจ ด้วยเหตุผลบางประการ มันง่ายกว่าที่ครูตุ๊กจะแสดงให้พวกเขาได้เห็นมัน เธอคือส่วนหนึ่งของโลกนี้และมันน่าเชื่อถือกว่าการจะมาบอกพวกเขาว่าสิ่งเหล่านั้นมันแย่เพียงไรที่นั่นจากปากของครูอเมริกัน” ครูแอนเดอสันกล่าว

ขณะที่ในวิสคอนซิน การศึกษาทางไกลในโรงเรียนประถมและมัธยมไม่ใช่เรื่องใหม่ การทำงานของโลดี้ก้าวไปไกลว่านั้น จากการสำรวจของแผนกการศึกษาสาธารณะแห่งรัฐวิสคอนซิน โลดี้เป็นแห่งเดียวในรัฐที่มีนักเรียนลงชื่อเรียนในวิชาเรียนที่มีหน่วยกิตที่สอนโดยอาจารย์ต่างชาติ

และทั้งหมดนั้นเริ่มต้นด้วยเงินเพียง 2,000 เหรียญสหรัฐที่ถูกใช้เพื่อจัดซื้อคอมพิวเตอร์แลปท้อปเพื่อให้ครูสามารถติดต่อกับนักเรียนได้จากโปรแกรมสื่อสารผ่านอินเทอร์เน็ท คณะบริหารของลอดี้อนุมัติโครงการนี้ในเงื่อนไขว่า งบประมาณด้านเทคโนโลยีครั้งเดียว และพวกเขาไม่จำเป็นต้องจ่ายเพิ่มเพื่อจ้างครูใหม่

ครูโคลฮ์สอนในเวลาเย็น ที่เด็กนักเรียนไทยจะเริ่มเรียนกับเขาในเวลาเจ็ดโมงเช้าตามเวลาที่แตกต่างกันถึง 13 ชั่วโมง เขากล่าวว่าปัญหาที่ท้าทายที่สุดคือเรื่องของเทคโนโลยี แต่ปรากฏเพียงน้อยครั้งที่จะมีปัญหาภาพไม่ชัดหรือการเชื่อมต่อมีปัญหา

ขณะที่โรงเรียนในไทยมีอุปกรณ์เพียบพร้อม สำหรับรูปแบบของการเรียนการสอนทางไกล การขาดแคลนอุปกรณ์ที่จำเป็นอาจทำให้การขยายโครงการเป็นไปได้ช้า

“ผมคิดว่าการเรียนการสอนทางไกลระหว่างประเทศเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาในอนาคตแต่ผมคิดว่าขณะนี้เรายังห่างไกลจากความสำเร็จด้วยเหตุผลทางด้านโครงสร้างพื้นฐาน เราพยายามที่จะทำแบบนี้กับครูในประเทศอื่นและปัญหาหนึ่งที่เราพบก็คือการขาดแคลนเทคโนโลยีที่เหมาะสมและผู้เชี่ยวชาญ อเมริกาอาจเป็นประเทศที่ร่ำรวยและเพียบพร้อมด้านเทคโนโลยีที่จะรองรับแต่นั่นไม่ได้เกิดขึ้นเช่นกันในประเทศอื่น” แอนเดอสันกล่าว

แต่นอกเหนือจากปัญหาดังกล่าว ผู้สนับสนุนโครงการมองว่าครูมีบทบาทสำคัญกว่าหลักสูตร

มกราคมปีนี้ โคลฮ์สอนนักเรียนไทยชั้นม. 6 22 คนเรื่อง อารยะขัดขืน (civil rights movement) ชั่วโมงสุดท้ายก่อนการสอบคือวันคล้ายวันเกิดของมาติน ลูเธอร์ คิง ลองนึกภาพผู้นำแอฟริกัน-อเมริกัน กล่าวสุนทรพจน์ “I have a dream” ในวอชิงตัน ดี.ซี.เป็นการจบชั่วโมงสอน

นักเรียนที่เรียนกับโคลฮ์บางคนพูดถึงเขาว่า “เป็นอาจารย์สอนประวัติศาสตร์ที่ฉลาดที่สุด”

“มันดีมากๆที่ได้เรียนรู้เกี่ยวกับประวัติศาสตร์ของอเมริกาและได้ความรู้เพิ่มขึ้นจากครูที่รู้จริงๆอย่างครูมาร์ค” เป็นคำพูดของนักเรียน ปิยะอร คำหวาน

นักเรียนคนอื่นๆได้เรียนรู้เรื่องการค้นคว้าหาความรู้เพิ่มเติมนอกเวลาเรียน

“จะเห็นได้ว่าในห้องเรียนเราถามคำถามน้อยมากเพราะเราไม่มีความมั่นใจพอที่จะตั้งคำถาม ตอนที่เราเป็นเด็กเมื่อเราตั้งคำถามที่ตลกๆเราจะโดนเพื่อนล้อ” นนท์ บุญศรีสุวรรณ กล่าว “ในเมืองไทยเราต้องให้ความเคารพคุณครูและนั่นทำให้ความสัมพันธ์ระหว่างนักเรียนกับครูดูห่างเหิน แต่ในการเรียนทางไกลแบบนี้เรารู้สึกได้ใกล้ชิดกับครูมาร์ค ครูมาร์คเป็นเหมือนคนในครอบครัวคนหนึ่งที่เราเจอเขาทุกๆวันตอนเช้า”

โคลฮ์กล่าวว่าความสัมพันธ์ระหว่างเขากับนักเรียนนั้นแข็งแรงมาก จนเมื่อมีเด็กนักเรียนกลายเป็นคนไร้บ้านจากเหตุดอกไม้ไฟระเบิดที่สุพรรณบุรีเมื่อตรุษจีนที่ผ่านมา เขาได้เรียกระดมเงินจากครูและนักเรียนในโรงเรียนเพื่อช่วยเหลือเด็กๆที่ได้รับผลกระทบ

ในขณะที่โครงการนี้กำลังก้าวขึ้นสู่ปีที่สอง ผู้สนับสนุนต่างหวังให้มันดำเนินต่อไป

“หลังจากมีการพูดคุยกันกับเจ้าหน้าที่ทั้งที่นี่และที่ประเทศไทย เราต่างเห็นด้วยว่าโครงการนี้ได้ผลเกินความคาดหมายของเราในทุกๆด้าน, เทคโนโลยี, ความสัมพันธ์, คุณภาพของการศึกษาและมันเป็นการลงทุนที่ดี โครงการนี้ประสบความสำเร็จอย่างมากสำหรับทั้งสองฝ่าย” โคลฮ์กล่าว

One reply on “Distance Learning between a Thai High School and an American High School.การศึกษาทางไกลระหว่างโรงเรียนมัธยมปลายในไทยและอเมริกา

Thank you for the article.

Any program which helps to bring greater awareness of different cultures is a good thing.

I’ve lived in Thailand for several years now and have some definite opinions of the education system here. It is definitely very different from that of the USA.

The author may want to double check the distance in miles or kilometers that was given at the beginning of the article. It’s indeed a long way aways but not quite tens of thousands… “are bridging a cultural gap tens of thousands of miles away”

Maybe in a figurative way.

Cheers,

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *