Categories
articles Featured Articles

Student Centered Learning: A Case for Integrated Learning Classroomsการเรียนรู้แบบนักเรียนเป็นศูนย์กลาง – กรณีศึกษาห้องเรียนการเรียนรู้แบบบูรณาการ


Ms Ellen Cornish and Dr Don W Jordan

Our classroom experience has shown us that the many benefits of moving away from rote learning to an integrated learning classroom, is that skills, values and understandings can best be taught and assessed within meaningful ‘connected’ contexts. Based on our understanding of students’ needs, interests, prior knowledge and experience, we planned a set of broad understandings to help frame our unit of work. These understandings – though specific to the topic – incorporated some of the    key concepts that students explore with increasing sophistication as they move through school.  The following is an example of what our classroom planning and teaching towards enhancing understanding in an integrated classroom looks like, sounds like, and feels like, together with a suggested unit of work on the human body, feel good feel great.

Integrated learning advantages teachers and students by:

·         Reflecting, more closely, the interdependence between all aspects of life in the real world

·         Challenging learners to use and develop their thinking as they work to make connections and see the ‘big picture’

·         Catering to the various learning styles and preferences held by students

·         Managing an increasing crowded curriculum

·         Meeting outcomes in context

·         Making more ‘sense’ to the school day – as activities have stronger links with each other

·         Providing students with a greater degree of control over learning

·         Encouraging staff to plan and work in teams

·         Structuring a meaningful context for the teaching and assessment of outcomes across key learning areas

·         Enabling students to transfer knowledge, skills and values across content and experiences

·         Skilling students to process and respond to experience in a range of ways

·         Linking purposes with activities more explicitly

·         Enriching understanding, enjoyment and reflection in teaching and learning.

The essence of this approach to planning is the relationship between those learning areas concerned with ‘the world around us’ (science, technology, health, and environmental and social education) and those areas through which we explore and come to understand that world (language, mathematics, art, drama, dance, music and aspects of technology.  Kath Murdoch (2003, P.1)

 

Creating an Integrated Classroom

 

An Integrated Classroom

Connects Prior Learning to New Learning

 

 

Fosters Reflective Practices

Makes Learning Meaningful

Recognises Individual Differences

Looks like

 

  • Teachers working / planning collaboratively.
  • Desks arranged in clusters of 4-6.
  • Activity centres with work space and resources.
  • Wall displays of student work and instructional material.
  • Comfortable reading space. (Cushions and books).

  • Smiling faces.

 

  • Tuning in activities using various graphic organisers e.g. what I know, what I would like to know etc.
  • Teacher assessment. (formative, summative).

 

  • Teacher and student created rubrics.
  • Students displaying their learning in a number of ways, e.g talking, writing, art, drama etc.

 

  • Relevant and up to date resources.

 

  • Adequate work spaces for students.
  • Curriculum relevant to student needs and interests.

 

  • Classroom program arranged to allow students to find space and resources. Allowing the teacher to give time and encouragement to students in order to demonstrate their learning across curriculum areas.
  • Learning program developed so that students can enter at their level and be extended and challenged.

Sounds like

 

  • Students discussing and helping each other.
  • The teacher interacting with individuals and groups.
  • Students confidently sharing their learning with the class through speaking, writing, drama, music, art.

 

 

 

 

 

 

  • Students being able to discuss their understandings and to make connections.

 

 

 

 

 

 

  • Students confidently explaining, discussing their learning with peers, teacher and parents.

 

 

 

 

  • Teacher making learning objectives clear.
  • Opportunities for students to takes risk in sharing their learning.

 

 

 

 

  • The sound of discussion between students and between students and teacher.
  • Students sharing the learning with peers, parents and teacher.

 

Feels like

  • Warm and safe to share confidently.
  • To ask questions and give opinions.
  • Inviting and feeling part of the group.

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

  • Warm and safe to share confidently.
  • To ask questions and give opinions.
  • Inviting and feeling part of the group.

 

 

 

  • Warm and safe to share confidently.
  • To ask questions and give opinions.
  • Inviting and feeling part of the group.

 

  • Students feeling confident to share their understandings with others.

 

 

 

 

 

 

  • Supportive environment so students feel comfortable to give thoughts and opinions.

 

 

 

 

 

 

 

 

References

Murdoch, K. (2003), Classroom Connections; Strategies for Classroom Learning. Australia: Publishing Solutions.

 

Glossary

Overarching Goals: Goals which overshadow the whole topic.

Tuning In: Finding out what the students already know about the topic, as well as what they would like to find out in order to stimulate their interest and enthusiasm for the topic.

Brainstorm: group discussion and sharing of ideas.

Guiding Questions: questions related to the topic which promote thought as well as refining the investigation to be undertaken.

Graphic Organiser: Charts which help visually organise information (there are many examples, including Y charts, T charts, fish bones, placemats, concept maps, flow charts etc. on the internet)

Rubrics: Teacher or student generated charts based on the topic being studied to assist with self-assessment.

Formative Assessment: Teacher assessment, as well as student self-assessment which can be demonstrated through drama, oral presentations, written material, information technology, art and craft etc.

Summative Assessment: System and school based testing.

Culmination: The final part of the topic where students demonstrate their understandings using a variety of methods including drama, information technology, oral presentations, written material, art and craft etc.

 

 

 

 

โดย Ellen Cornish  และ  Dr Don W Jordan

จากประสบการณ์ในชั้นเรียนของเราได้แสดงให้เราเห็นว่าประโยชน์ของการเปลี่ยนการเรียนการสอนจากแบบท่องจำ มาเป็นการเรียนแบบบูรณาการในชั้นเรียนนั้น ไม่ว่าจะเป็นด้านทักษะ ด้านคุณค่าแห่งการเรียนรู้ และความเข้าใจ ก็จะสามารถประเมินได้อย่างมีเหตุมีผล และ “เชื่องโยง” กับเนื้อหา ทั้งนี้การเรียนแบบนี้จะต้องขึ้นอยู่กับความเข้าใจในนักเรียนของเรา ทราบถึงความต้องการของนักเรียน ความสนใจ ประสบการณ์และความรู้เบื้องต้นที่นักเรียนมีมาเป็นพื้นฐาน เราจะต้องวางโครงร่างความเข้าใจเพื่อช่วยในการวางแผนการสอน ความเข้าใจนี้เป็นไปตามหัวข้อเรื่องที่จะเรียนแต่ประสานร่วมกับประเด็นสำคัญที่นักเรียนจะสามารถเปิดโลกทัศน์ได้ตามความสนใจของนักเรียน กรณีต่อไปนี้เป็นตัวอย่างที่ดีเกี่ยวกับการวางแผนห้องเรียนและวางแผนการสอน โดยเน้นและให้ความสำคัญกับความเข้าใจ ระบุให้เห็นว่าในการเรียนการสอนแบบบูรณาการควรจะมีหน้าตา ลักษณะอย่างไร พร้อมกันนั้นกรณีศึกษานี้ได้ให้แบบเสนอแนะเกี่ยวกับเรื่องอากับกิริยาของนักเรียน เมื่อรู้สึกใช่ รู้สึกดี ไว้ด้วย

การเรียนรู้แบบบูรณาการสามารถพัฒนาครูและนักเรียนได้จาก

·         การสะท้อนภาพให้เห็นอย่างชัดเจนขึ้น โดยคำนึกถึงแง่มุมต่างๆในชีวิตและในโลกความเป็นจริง

·         ท้าทายให้ผู้เรียนได้ใช้และพัฒนาทักษะการคิด ในขณะที่ผู้เรียนเรียนรู้เพื่อเชื่องโยงให้เห็น “ภาพรวม”

·         เหมาะสมกับผู้เรียนหลากหลายรูปแบบและสามารถจัดการเรียนรู้ได้ตามความชื่นชอบของนักเรียน

·         การจัดการหลักสูตรที่หนาแน่นขึ้นได้

·         บรรลุผลลัพธ์จากเนื้อหา

·         ชีวิตประจำวันในโรงเรียนดูมีความ ”เข้าท่า” มากขึ้น เนื่องจากกิจกรรมต่างๆ เชื่องโยงกันมากขึ้น

·         การให้นักเรียนสามารถควบคุมการเรียนรู้ของตัวเองได้มากขึ้น

·         สนับสนุนให้เจ้าหน้าที่ในโรงเรียนวางแผนและทำงานเป็นทีม

·         การจัดโครงสร้างเนื้อหาที่มีความสมเหตุสมผลสำหรับครูและการประเมินวัดผลของผลที่ได้รับกับพื้นที่การเรียนรู้ที่หลากหลาย

·         นักเรียนสามารถแลกเปลี่ยนความรู้ ทักษะและคุณค่าของความรู้จากเนื้อหาและประสบการณ์

·         สร้างทักษะนักเรียนให้พัฒนาและตอบสนองกับประสบการณ์ต่างๆ ได้หลากหลาย

·         เชื่องโยงวัตถุประสงค์กับกิจกรรมได้อย่างชัดเจนขึ้น

·        การเกิดความเข้าใจที่สมบูรณ์ รู้สึกสนุกและสามารถสะท้อนภาพการเรียนการสอนได้

หัวใจสำคัญในการวางแผนการสอนตามแนวทางนี้คือการจัดความสัมพันธ์ที่เชื่องโยงระหว่างสิ่งที่เกี่ยวข้องกับสิ่งที่เรียนกับ “โลกรอบตัวเรา” (วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี สาธารณสุข และสิ่งแวดล้อม และสังคมศึกษา) และพื้นที่อื่นๆ ที่เรามีส่วนเกี่ยวข้องหรือโลกที่เราต้องเข้าใจ (ภาษา คณิตศาสตร์ ศิลปะ ละคร ดนตรี และแง่มุมของเทคโนโลยี) Kath Murdoch (2003, P.1)

การสร้างชั้นเรียนแบบบูรณาการ

ชั้นเรียนแบบบูรณาการ

เชื่องต่อความรู้เดิมกับความรู้ใหม่

 

 

กระตุ้นให้เกิดการคิดแบบสะท้อน

ทำให้การเรียนรู้มีความหมาย

ตระหนักถึงข้อแตกต่างของแต่ละคน

มีลักษณะอย่างไร

 

  • ครูทำงานและวางแผนร่วมกับนักเรียน
  • จัดโต๊ะและเก้าอี้เป็นกลุ่มย่อย 4-6 โต๊ะ
  • ความสนใจมุ่งไปที่ชิ่นงานหรือแหล่งเรียนรู้
  • ผนังห้องโชร์ผลงานนักเรียนและสื่อเสนอให้เห็นโครงสร้างต่างๆ
  • มีพื้นที่การอ่านที่น่าใช้งาน (โชฟาและหนังสือต่างๆ)

 

  • หน้าตายิ้มแย้มแจ่มใส

 

  • ปรับเข้าสู่กิจกรรมหรือชิ้นงานด้วยวิธีการต่างๆ เช่น อะไรที่นักเรียนทราบแล้ว หรือ อะไรที่นักเรียนต้องการรู้

 

 

  • การประเมินจากครูแบบไม่เป็นทางการ และแบบสรุปความ
  • นักเรียนและครูสร้างโครงร่างระบบการเรียนรู้ร่วมกัน
  • นักเรียนแสดงออกว่ากำลังเรียนรู้ในหลากหลายวิธี เช่น พูด เขียน วาด หรือเล่นละคร

 

  • มีสื่อและแหล่งเรียนรู้ที่ทันสมัยและเหมาะสมกับเนื้อหา

 

  • นักเรียนมีพื้นที่ในการเรียนรู้และทำงานที่เหมาะสม
  • หลักสูตรเชื่องโยงและเกี่ยวข้องกับความต้องการและความสนใจของนักเรียน
  • การจัดการห้องเรียนอนุญาตให้นักเรียนสามารถหาแหล่งเรียนรู้ได้ อนุญาตให้ครูสามารถให้เวลากับนักเรียน และสามารถกระตุ้นให้นักเรียนแสดงออกถึงการเรียนรู้ของเขาในแง่มุมต่างๆ ของหลักสูตร
  • หลักสูตรการเรียนรู้ที่มีการพัฒนา เพื่อให้นักเรียนได้เรียนในระดับของตน และได้การท้าทายจากหลักสูตรในเวลาเหมาะสม

มีโสตสำเนียงอย่างไร

 

  • นักเรียนแสดงความคิดเห็นและช่วยเหลือกัน
  • ครูมีปฏิสัมพันธ์กับนักเรียนเป็นรายบบุคคลและเป็นกลุ่ม
  • นักเรียนมีความมั่นใจในการแลกเปลี่ยนความรู้ในห้องผ่านการพูด เขียน ร้องเพลงหรือเล่นละคร

 

 

 

 

 

 

  • นักเรียนสามารถถกเถียงความเข้าใจ แลกเปลี่ยนกันและสร้างความเชื่องโยงได้

 

 

 

 

 

 

  • นักเรียนมีความมั่นใจในการอธิบาย แลกเปลี่ยนความรู้กับเพื่อนร่วมชั้น ครูและผู้ปกครอง

 

 

 

 

  • ครูชี้แจงวัตถุประสงค์ในการเรียนรู้ที่ชัดเจน
  • เปิดโอกาสให้นักเรียนโต้เถียงและแสดงความเห็นต่างเพื่อแลกเปลี่ยนการเรียนรู้

 

 

 

 

  • มีเสียงการแลกเปลี่ยนระหว่างนักเรียน และระหว่างครูกับนักเรียน
  • นักเรียนแลกเปลี่ยนการเรียนรู้กับเพื่อ ครูและผู้ปกครอง

 

ให้ความรู้สึกอย่างไร

  • บรรยากาศที่อบอุ่น ปลอดภัยในการแลกเปลี่ยนอย่างมั่นใจ
  • มีการถามคำถามและให้ความคิดเห็น
  • เชื้อเชิญและรู้สึกเป็นส่วนหนึ่งของกลุ่ม

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

  • บรรยากาศที่อบอุ่น ปลอดภัยในการแลกเปลี่ยนอย่างมั่นใจ
  • มีการถามคำถามและให้ความคิดเห็น
  • เชื้อเชิญและรู้สึกเป็นส่วนหนึ่งของกลุ่ม

 

 

 

  • บรรยากาศที่อบอุ่น ปลอดภัยในการแลกเปลี่ยนอย่างมั่นใจ
  • มีการถามคำถามและให้ความคิดเห็น
  • เชื้อเชิญและรู้สึกเป็นส่วนหนึ่งของกลุ่ม

 

 

  • นักเรียนรู้สึกมั่นใจในการแลกเปลี่ยนความเข้าใจของตนกับคนอื่น

 

 

 

 

 

 

 

 

  • บรรยากาศที่สนับสนุน ให้นักเรียนรู้สึกสบายในการแสดงความคิดและเสนอความคิดเห็น

 

 

 

 

 

 

 

 

หนังสืออ้างอิง

Murdoch, K. (2003), Classroom Connections; Strategies for Classroom Learning. Australia: Publishing Solutions.

 

อภิธานศัพท์

เป้าหมายครอบคลุม (Overarching Goals): เป้าหมายที่ครอบคลุมหัวข้อทั้งหมด

ปรับเข้าสู่บรรยากาศ  (Tuning In): ค้นหาว่านักเรียนรู้อะไรอยู่แล้วในหัวข้อนี้ ในขณะเดียวกันค้นหาว่านักเรียนต้องการอยากรู้อะไร เพื่อกระตุ้นให้นักเรียนสนใจและมีความกระตือรือร้นกับหัวข้อนั้น

ระดมสมอง (Brainstorm): การแลกเปลี่ยนในกลุ่มและวิพากท์เพื่อให้ได้ความคิดที่หลากหลาย

คำถามเชิงชี้แนะ (Guiding Questions): คำถามที่เกียวกับหัวข้อที่เรียนรู้ ที่ชี้แนะหรือสนับสนุนให้เกิดการคิด ค้นหา และการมีส่วนร่วมในการเรียนรู้

สื่อเสนอให้เห็นโครงสร้าง (Graphic Organiser): สื่อหรือกราฟหรือภาพประกอบที่ช่วยให้นักเรียนเห็นการจัดการเชิงรูปธรรม เช่น กราฟตัววาย Y กราฟตัวที T กราฟก้างปลา แผนที่โครงสร้าง ผังการจัดการ สิ่งเหล่าหาได้ไม่ยากในอินเตอร์เน็ท

โครงร่างระบบการเรียนรู้แบบรูบิค  (Rubrics): ครูหรือนักเรียนสร้างโครงร่างการเรียนรู้จากหัวข้อที่กำลังเรียนอยู่เพื่อช่วยประเมินตัวเองในกระบวนการเรียนรู้

การประเมินอย่างไม่เป็นทางการ (Formative Assessment): การประเมินผลของครูและนักเรียนในการประมเนตนเอง ที่สามารถทำได้โดยผ่านการแสดงออกเช่น การเล่นละคร การนำเสนอหน้าห้อง การผลิตงานเขียน หรืการใช้สื่อเทคโนโลยี รวมทั้งผ่านงานศิลปะต่างๆ

การประเมินแบบสรุปความ (Summative Assessment): การทดสอบโดยยึดระบบและตามกรอบของโรงเรียน

ประเด็นสำคัญที่สุด (Culmination): ส่วนสุดท้ายของหัวข้อที่นักเรียนจะแสดงออกถึงความเข้าใจของตัวเองโดยผ่านวิธีการต่างๆ เช่น การเล่นละคร การนำเสนอหน้าห้อง การผลิตงานเขียน หรืการใช้สื่อเทคโนโลยี รวมทั้งผ่านงานศิลปะต่างๆ

 

 

 


Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *