Lesson Planningแผนการสอน

Stan Chu is on the far left

 

Lesson planning that involves everyone as learners using the immediate environment

 

Student Centered Learning—Science Right Outside

By Stan Chu, Bank Street College of Education, New York City.

schu@bankstreet.edu

Young children are curious about the natural world around them.  Teachers can facilitate their explorations of what is immediately available to them just footsteps away from their classrooms.

Collaboration

Here is a description of an exploration of animals found within the grounds of the Rato Bangala School (RBS) in Kathmandu, Nepal and done by 28 teachers of grades one through five as part of a two-week intensive in-service teacher training program I led August 6-15, 2012.  This was a continuation of a  20 year collaboration between the RBS and the Bank Street College of Education, New York City.

Direct Experience

This work with classroom teachers having direct experiences with real materials is in keeping with the belief that teachers need to experience learning in the same ways children raise questions and gather evidence from first hand encounters with the physical world.  In addition, learners must create ways to represent their understandings in order to form mental models.

Using the immediate environment to explore and teach

For this session, I collaborated with Basante Yadav, an experienced Nepali science teacher at the RBS in facilitating an exploration of animals found along the edges of the school’s grassy football field.  Teachers were given small trays and hand tools to dig into the soil.  The goal was to find any animals, living or dead, that caught the interests of teachers, and that raised questions that could be answered in the context of available time, materials, and previous understandings.

Teachers formed themselves into groups of four, and walked to the school football field a few minutes away.  They spent about 15 minutes overturning fallen branches and rocks, and digging in the soil.  The teachers were helped to take particular notice of physical settings where they found their animals.  Was the soil moist or dry?  Was the area in the shade or direct sunlight?  Were the animals on leaves, soil, or underground?

Experiential learning

The animals were taken back to the workshop classroom.  Each group had magnifying glasses to help them notice details of the body of their animal.  They then created an enlarged drawing on clear plastic with a fine tipped black marker.

Participatory learning

Group then took turns projecting their drawings using an overhead projector.  Each group member said something about the animal or the conditions in which it was found.  This reporting-out included sharing questions group members had about their animal, and what they might do to try to answer these questions.

Small environments were then created similar to the physical conditions from which the live animals were found along the football field.  This close duplication of living conditions maximized chances for the animals to remain alive, and fostered the idea that living organisms need to be respected and cared for by learners.

During the following days, teachers devised ways to try to answer questions they had about the animals.  Could the animal see?  Could it hear?  What does it eat?  Should the soil be moist or dry?  Does it like shade or direct sun?

The teacher’s role in student centered learning

An aspect of student-centered learning involves questions learners themselves generate from direct experiences.  The teacher has a number of roles, including scaffolding questions of students when needed in order to make the initial questions more accessible to answering, and anticipating sufficient time and tools that help learners pursue their own questions.

 

 

 

Exploring the World

Young Children Investigate Eating Places and Greenmarkets

By Stan Chu, Bank Street College of Education, New York City (schu@bankstreet.edu) March 26, 2012

Children are continually trying to make sense of the world around them.  They do this best by direct, active engagement with the physical world of people and places that have meaning to them.  At Bank Street College, we call this social studies.

 

EATING PLACES

Six year olds can investigate nearby eating places.  The focus on eating places is appropriate when there are a variety of businesses selling prepared food in the here-and-now lives of six year olds.  In some neighborhoods, there may be many different places to purchase food: fast food, sit down restaurants, and food carts.

The Big Idea:

Six year olds will come away with the understanding that eating places are organized, and in different ways.  Children find out what it means to be a customer when going into a fast food store, compared to being a customer in a sit-down restaurant.  In      addition, there are different jobs that people have who work in eating places.

An Investigation:

Teachers arrange with a fast food business to bring a small group of six year olds to observe what it means to be a customer.  Children see that what is offered for sale is written on the wall of the store, along with some pictures of the food.  The customers line up, get to the worker who takes their order.  The customer pays, and then waits until the food is handed to them.  There may be tables and chairs to eat the food, or the food might have to be taken away. Children also notice the variety of jobs workers have in the fast food business: cashier, cook, cleaner, manager.

Children not only see the work that is being done, but also realize the skill and effort involved in doing these jobs.

Recreating the Experience:

Back in the classroom children discuss what they have seen.  There is a way to be a customer.  There are different jobs they have seen workers do.

Children then recreate their own versions of a fast food eating place.  Their recreations are based on what they have seen themselves in the real fast food setting.  “We need a sign so people know what foods they can buy.”  “How will we make a cashier register for the money?”  “Will we have chairs for them to eat their food?”  “What jobs do we need?”  “Who is going to do which jobs?”  This recreation by children of the outside world is at the core of making meaning from direct experiences.  

GREENMARKETS

At the Bank Street School for Children in New York City (www.bankstreet.edu), six year olds walk by outdoor food markets run by farmers who bring their produce into the city every day.

The Big Idea:

A greenmarket is organized in specific ways.  People make decisions of what to sell based on what grows at different times of the year and what they believe customers want to buy.  Farmers must decide how much to sell their produce for in order to make a profit.  There are specific jobs adults have that are connected to food at the greenmarket: farmers grow and harvest the food, people drive produce into the city each day, and workers sell the produce at the market.  Sometimes, a person does many different jobs.

An Investigation:

Children visit greenmarkets, talk with farmers, and go to the wholesale produce area of the city.  They interview adults and other children within the school to find out what produce is the most popular in order to decide what to buy and sale.

Recreating the Experience:

Children use information they have gotten from interviewing in order to decide what to buy when they go in the early morning to the wholesale produce area of the city.  Along with their teachers, six year olds buy produce they think others will want to purchase.

Children then decide on how their own greenmarket will be organized in the lobby of the school.  “How much should we sale the bananas for?”  “We need a sign so customers will know how much each thing cost.”  “Who will collect the money?”  “What should we do with the money afterwards?”  “What do we do with the food that we don’t sell?”

Both the Eating Places and the greenmarket investigations are examples of six year olds going out into the world and finding out about people and places that have meaning to them


“Too often we give children answers to remember rather than problems to solve.”  Roger LewinEllen Cornish and Don Jordon present extremely useful guidelines for creating student-centered lesson plans. We will present them as a series of articles that we encourage everyone to read and discuss:

PLANNING A UNIT OF WORK

Learning Sequences Extinction  – December 2011 Looks Like, Sounds Like, Feels Like – December 2011

 

ELLEN CORNISH

Ellen Cornish has had 33 years’ experience teaching in Tasmanian schools. She has taught in both primary and district high schools during that time. She has spent time in senior management roles within the school setting. Ellen has also held the positions of treasurer and president of the Early Childhood Educators of Tasmania Association. She has led many professional learning sessions for her colleagues and is skilled in the mentoring and training of pre-qualification teacher trainees, newly qualified teachers and teachers who experience difficulties and those re-entering the profession. Teaching in Korea helped to enrich her experience as an educator. In March 2011the Mechai Viravaidya Foundation invited her to evaluate the leadership, curriculum, resources and teacher training and experience, at the Mechai Pattana Secondary School in north eastern Thailand. She was also asked to make recommendations for improvements to help bring the school up to the standard required to support the development of a teacher training institute. She has expertise in the education of children with disabilities as well as those with challenging behaviour and their ability to function within the mainstream school. One of her passions in education is to help students believe in themselves and their ability to achieve their dreams. Email: ellencornish1@bigpond.com


Don W Jordan

Dr Don Jordan, ScEdD, is an experienced educator, having taught in primary schools in Tasmania. His perspective has been enriched by his work with disaffected students in the United Kingdom and with Bachelor of Education students in the Gaza Strip and working with curriculum developers and teachers on behalf of UNICEF in the Maldives. In March 2011, Don was invited by the Mechai Viravaidya Foundation, to evaluate the leadership, curriculum, resources and teacher training and experience, at the Mechai Pattana Secondary School in north eastern Thailand, in preparation for it to become a demonstration school for the proposed Teacher Training Institute. Don has a particular interest in the philosophical and theoretical place of computers in primary classrooms in Tasmania, and their effect on students’ learning, behaviour and social development. Email: donjordan1@bigpond.com    

การวางแผนการสอนในแต่ละบท

(ลำดับขั้นการเรียนรู้) การวางแผนการสอนในแต่ละบท (ลำดับขั้นการเรียนรู้)

หัวข้อ

รู้สึกใช่ รู้สึกดี ร่างการมนุษย์

คุณค่าที่มีส่วนร่วมในหัวข้อนี้

นักเรียนเอง ครอบครัวและผู้อื่น สามารถรักษาสุขภาพที่ดี โภชนาการดีและวิถีการใช้ชีวิตที่ถูกสุขลักษณะ

หลักการ

ความมีเอกลักษณ์และวัฒนธรรม และเตรียมพร้อมสำหรับชีวิต (ผ่านการเปลี่ยนแปลง) ที่เกี่ยวข้องได้

ความสามารถสำคัญ

สามารถคิดและสร้างสรรค์ สัมพันธ์กับคนอื่น สามารถใช้ชีวิตในวิถีที่ถูกสุขลักษณะและมีความหมาย เรียนรู้การปฏิบัติอย่างบูรณาการ ผ่านสื่อและเทคโนโลยีต่างๆ

เป้าหมายของการเรียนรู้

  • ช่วยนักเรียนในการพัฒนาความเข้าใจว่าพฤติกรรม และทัศนคติและทางเลือกต่างๆ มีผลต่อลักษณเอกภาพและความสัมพันธ์ต่างๆ
  • นักเรียนจะสามารถนำความเข้าใจที่เรียนมาในการคัดเลือกและชี้แจงสิ่งที่ดีสำหรับสุขภาพตัวเองได้
  • นักเรียนจะสามารถพิจารณาได้ว่าการคัดเลือกเหล่านั้นมีผลกระทบอะไรกับตัวเองและผู้อื่น
  • อะไรคือปัจจัยที่มีผลกระทบต่อสุขภาพทางกายภาพและความกินดีอยู่ดี
  • มีวิธีอะไรบ้างที่เราจะสามารถเลือกและบอกถึงทางเลือกที่ดีที่จะทำให้ตนเองมีความกินดีอยู่ดี
  • การคัดเลือกต่างๆ เหล่านี้มีผลต่อผู้อื่นอย่างไร

เป้าหมายครอบคลุม

นักเรียนจะสามารถเข้าใจประเด็นต่างๆ ได้ดังนี้

  • สิ่งสำคัญเด่นๆ เก่ยวกับร่างการของตัวเองทางกายภาพ และส่วนต่างทำงานอย่างไร การเติบโต พัฒนาการ และวิธีในการดูแลรักษา
  • วิธีการเลือกตัวเลือกข้อมูลเกี่ยวกับโภชนาการที่เราต้องการเพื่อให้ร่างการสมบูรณ์แข็งแรง
  • รู้ว่าทางเลือกของเรามีผลต่อความกินดีอยู่ดี

ประสบการณ์การเรียนรู้ที่นามาสู่ความเข้าใจ

  • สร้างบรรยากาศการการเรียนรู้ที่ดี
  • เชื่องโยงกับการเรียนรู้เดิม
  • ทำให้การเรียนรู้มีความหมาย ด้วยการ อ้างอิงถึงอะไรที่นักเรียนรู้แล้ว อะไรที่นักเรียนต้องการรู้ อย่างไร จัดโครงร่างระบบการเรียนรู้ของครูและนักเรียนร่วมกัน
  • ตระหนักถึงความแตกต่างของแต่ละคน

การแสดงออกว่านักเรียนประสบความสำเร็จในการเรียนรู้

ประเมินผลการเรียนรู้จากมิติต่างๆ วิธีที่หลากหลาย ใช้การให้ความเห็น เสนอแนะ สะท้อนภาพของการเรียนรู้ แสดงออกโดยการอธิบายผ่านการเขียน วาดภาพองค์รวม วาดระบบ อธิบายหน้าห้องโดยใช้รูปภาพ หรือการนำเสนอให้เพื่อร่วมชั้น

 

ปรับเข้าสู่บรรยากาศ

ระดมสมองกันในชั้นเรียนเกี่ยวหัวข้อดังต่อไปนี้ นักเรียนรู้อะไรบ้างเกี่ยวกับการกินดีอยู่ดีและสุขภาพที่ดี

  • จัดกิจกรรมในรูปแบบกลุ่ม กลุ่มละ 3 คน เพื่อประเมินความรู้พื้นฐานของนักเรียนเกี่ยวกับการกินดีอยู่ดีและสุขภาพดีของตัวเอง
  • ให้นักเรียนทั้งสามคน ต่างคนต่างเขียนด้วยดินสอคนละสี บนกระดาษแผ่นใหญ่ เกี่ยวกับความเข้าใจของตัวเองในเรื่องการกินดีอยู่ดี
  • นักเรียนแลกเปลี่ยนคำตอบของตัวเองกับเพื่อในกลุ่ม ให้เพื่อที่ฟังเลือกว่าอะไรคือใจความสำคัญของข้อมูลที่เพื่อนนำเสนอ
  • ให้นักเรียนนำเสนอในชั้นเรียนว่าอะไรคือใจความสำคัญ 3 อย่างที่ได้จากกลุ่มของตน
  • ให้นักเรียนทั้งห้องช่วยกันจัดหมวดหมู่ว่าอะไรอยู่ในหมวดของอาหารและเครื่องดื่ม ยารักษาโรค สุขอนามัย ความสะอาด เชื้อโรค และความรู้สึก
  • อ่านเรื่องของ ดร. ด๊อก ในช่วงเวลาปรับเข้าสู่หัวข้อนี้ให้ทั้งห้องฟัง  (ผู้เขียน Babette Cole. 1996)
  • ระดมสมองทั้งห้องเรียนว่าอะไรคือใจความสำคัญที่นักเรียนคิดว่าผู้เขียนพยายามบอก เกี่ยวกับความกินดีอยู่ดี

การประเมินผลอย่างต่อเนื่อง

  • จดบันทึกความเห็นของนักเรียนเป็นข้อความช่วยจด
  • เก็บบันทึกว่านักเรียนมีชุดความเข้าใจอะไรบ้างในขณะนั้นไว้เพื่อเปรียบเทียบกับชุดความเข้าใจของนักเรียนเมื่อเรียนจบบท

ให้ความสนใจกับความสามารถของนักเรียนในประเด็น

  • นักเรียนสามารถบอกหรืออธิบายข้อมูลทั่วไปเกี่ยวกับประเด็นด้านสุขภาพ
  • นักเรียนสามารถได้ในรูปแบบการเขียน

บอกนักเรียนให้พยายามไม่คัดลอกเรื่องจาก ดร. ด๊อก

ค้นหาและคัดแยก

เราจะรู้ได้อย่างไรว่าร่างกายเราทำงานอย่างไร คำถามเชิงชี้แนะ เช่น

  • อะไรบ้างที่เรารู้แล้ว
  • อะไรที่เรายังไม่รู้ และต้องหาคำตอบ
  • เกิดอะไรขึ้นเมื่อ …..
  • อวัยวะชิ้นนี้มีหน้าที่ ….
  • ทำไม
  • เราจะหาคำตอบได้อย่างไร

อะไรอยู่ในร่างกายของเรา ครูเป็นผู้นำกิจกรรม ชักนำเข้าสู่บทสนทนาในหัวข้อเรื่องการดูแลสุขภาพและการดูแลตัวเอง มีอะไรในร่างการเราบ้าง และ อวัยวะต่างๆ ทำงานอย่างไร

  • ให้นักเรียนทำงานเป็นกลุ่ม ให้นักเรียนวาดรูปร่ากงกายของเราขนาดจริงในกลุ่ม
  • ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มวาดรูป ใช้สี หรือใช้วัสดุต่างๆ วาดเป็นรูปภายในของร่างกายเราในส่วนต่างๆ
  • ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มระบุชื่ออวัยวะต่างๆ ในรายละเอียด ลงบนรูปหรือชิ้นงานที่นักเรียนได้ทำไว้
  • ให้นักเรียนทั้งห้องทำงานวิจัยเกี่ยวกับระบบต่างๆ ของร่างกายเรา

ครูเป็นผู้นำกิจกรรม อธิบายถึงความซับซ้อนของธรรมชาติว่าแต่ละส่วนของร่างกายเราทำงานร่วมกันอย่างไร บอกนักเรียนให้ทราบว่าเพื่อเป็นการเข้าใจถึงความซับซ้อนนี้ เราต้องเข้าใจถึง “ระบบ” ของร่างกายก่อน   ยกตัวอย่างระบบต่างๆ ในร่างกาย

  • เส้นทางอาหารในร่างกายเรา เกี่ยวเนื่องถึงระบบย่อยอาหาร
  • ส่วนที่เกี่ยวข้องกับการหายใจและระบบการหายใจ
  • ต่อยอดการอธิบายด้วยการให้รายชื่อระบบหลักต่างๆ ของร่างกายเรา โดยให้รายละเอียดของแต่ละระบบอย่างคร่าวๆ
  • บอกให้นักเรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อมูลที่นักเรียนรู้แล้ว และให้เขียนคำถามในส่วนที่ยังไม่รู้ที่เกี่ยวกับระบบของร่างกาย
  • แนะนำให้นักเรียนใช้อินเตอร์เนท หนังสือต่างๆ และสอบถามผู้เชี่ยวชาญ
  • นักเรียนที่เก่งหรือชำนาญกว่าคนอื่นๆ อาจสามารถหาข้อมูลจากแหล่งอื่นๆ เพิ่มเติมได้
  • ให้นักเรียนเขียนโครงร่างระบบการเรียนรู้ เพื่อช่วยประเมินผลการเรียนรู้ของแต่ละกลุ่มและของตัวเอง โดยอ้างอิงถึงเกณฑ์การประเมินที่ได้แจ้งไปแล้ว (ดูเพิ่มเติมจากเอกสารแบบประเมินตนเองโดยใช้โครงร่างระบบการเรียนรู้แบบรูบิคสำหรับนักเรียน)

การประเมินผลอย่างต่อเนื่อง

·         โชร์รูปวาดร่างกายของนักเรียนที่ทำไว้ และใช้รูปนี้เป็นสื่ออ้างอิงเมื่อประเมินผลการเรียนรู้

·         กระตุ้นให้นักเรียนพูดอธิบายหน้าห้อง ใช้เทคโนโลยี ใช้สื่อเทคนิค ใช้กราฟ หรือแผนที่ร่างกายของเรา หรือ ภาพปะติด

·         ให้แต่ละกลุ่มนำเสนอข้อมูลของกลุ่มในส่วนระบบของร่างกายที่ได้รับมอบหมายหน้าห้อง โดยให้ใช้โปรแกรมพาวเวอร์พ้อนท์หรือใช้สติ้กเกอร์อธิบายและชี้จุดบนรูปร่างกายเข้าเท่าจริง

·         อธิบายให้แต่ละกลุ่มทราบถึงวัตถุประสงค์และหลักเกณฑ์ในการประเมินผลในการนำเสนอ โดยใช้หลักเกณฑ์ที่เหมาะสมเช่น ใช้คำพูดที่ชัดเจน พูดจาฉะฉาน หันหน้าหาผู้ฟัง เปิดโอกาสให้สมาชิกทุกคนได้พูดและมีบทบาทเท่าๆกัน ใช้เวลาตามกำหนด การนำเสนอน่าสนใจ อ้างอิงถึงรูปภาพประกอบ ใช้กราฟหรือรูปภาพเพื่อช่วยความเข้าใจ อธิบายการทำงานของระบบในร่างกายอย่างชัดเจน

·         ประเมินการนำเสนอของนักเรียนตามหัวข้อที่นักเรียนได้รับ รวมทั้งควรประเมินการที่นักเรียนใช้สื่อต่างๆ เช่นรูปภาพและกราฟด้วย

·         ประเมินว่านักเรียนอธิบายการทำงานของระบบของร่างกายชัดเจนและมีประสิทธิภาพเพียงใด

·         ใช้ระดับคะแนน 1-4 ในแต่ละเกณฑ์ เมื่อแต่ละกลุ่มจบการนำเสนอ ให้นักเรียนทั้งห้องประเมินตัวเองด้วยโครงร่างระบบการเรียนแบบรูบิค

อะไรคือปัจจัยที่จะสร้างความอยู่ดีกินดี

อาหาร เราต้องการอาหารบางประเภทมากกว่าอาหารบางประเภทหรือไม่   ครูเป็นผู้นำกิจกรรม ถามนักเรียน

  • มีอาหารประเภทใดไหมที่เราควรรับประทานมากกว่าอาหารประเภทอื่นๆ
  • อาหารเหล่านั้นมีอะไรบ้าง
  • อ้างถึงอาหารบางประเภทที่มีคุณประโยชน์เหมาะสมและดีสำหรับร่างกายเรา
  • ระดมสมองเกี่ยวกับอาหารประเภทต่างๆ ให้นักเรียนช่วยกันระดมสมองทั้งห้อง แบ่งอาหารเป็นประเภทต่างๆ
  • ใช้ภาพพีรามิด ให้นักเรียนจัดลำดับว่าอาหารประเภทใด ควรอยู่ในระดับใดของพีรามิด เพื่อโภชนาการที่ดี เช่น อาหารประเภทใดควรบริโภคมาก อาหารประเภทใดควรบริโภคน้อย
  • ยืนยันว่าการจัดลำดับปริมาณอาหารที่ควรบริดภคที่ทั้งห้องช่วยกันจดมานั้นถูกต้องมากน้อยเพียงไร เพราะเหตุใด
  • ใช้คอมพิวเตอร์ด้วยโปรแกรม เวริ์ด ให้นักเรียนอออกแบบพีรามิดในคอมพิวเตอร์และใช้อาหารประเภทต่างๆ ลงในพีรามิดนั้น

การประเมินผลอย่างต่อเนื่อง

ประเมินว่านักเรียนมีความสามารถต่อไปนี้

  • สามารถจัดประเภทอาหารในพีรามิดอาหารได้ว่า อหารประเภทใดควรบริโภคน้อย บริโภคมาก หรือบริโภคแต่พอควร
  • อธิบายได้ว่าทำไมจึงเลือกอาหารประเภทนั้นไว้ในระดับใดในพีรามิด
  • นำเสนอการเรียนรู้ที่ได้มาโดยสามารถนำมาผลิตเป็นสื่อผ่านคอมพิวเตอร์ได้

เราจะรู้ได้อย่างไรว่ามีสารอาหารอะไรอยู่ในอาหารแต่ละประเภท ครูเป็นผู้นำกิจกรรม โดยการตั้งคำถามและอภิปราย ตัวอย่างคำถามเช่น

  • เราจะรู้ได้อย่างไรว่าอาหารแต่ละอย่างมีวัตถุดิบหรือมีส่วนประกอบอะไรบ้าง
  • มีข้อมูลอะไรแจ้งให้ผู้บริโภครู้บนซอง กล่องหรือบรรจุภัฑณ์บ้าง
  • อะไรที่เป็นโฆษณาชวนเชื่อที่ผู้ผลิตพยายามบอกผู้บริโภคบนบรรจุภัณฑ์เพื่อเพิ่มยอดขาย

สำรวจอาหารของเรา

  • ให้นักเรียนทำงานเป็นกลุ่ม ให้นักเรียนเปรียบเทียบอาหารแต่ละจาน ว่าให้น้ำตาล ใยอาหาร ไขมัน พลังงานและเกลือ ต่างกันอย่างไร
  • ให้แต่ละกลุ่มจดบันทึกรายการอาหารเช้า 4 จานที่แตกต่างกัน
  • ให้แต่ละกลุ่มทำกราฟบ่งบอกถึงข้อมูลโภชนาการที่ค้นคว้ามาได้
  • ให้นักเรียนระบุว่าอาหารจานใดมีคุณค่าทางโภชนาการที่สุด

อย่าลืมให้นักเรียนอธิบายว่าทำไมจึงเลือกอาหารจานดังกล่าวว่ามีคุณค่าทางโภชนาการที่สุดเมื่อนักเรียนนำเสนอในรูปแบบกราฟหน้าห้อง

การประเมินผลอย่างต่อเนื่อง

ประเมินว่านักเรียนมีความสามารถต่อไปนี้

  • วิเคราะห์ข้อมูลทางโภชนาการ
  • ประมวลข้อมูลในรูปแบบกราฟ
  • อ่านวิเคราะห์กราฟนั้นๆ
  • สรุปเนื้อหาได้
  • สามารถเลือกทางเลือกที่ดีที่สุดได้
  • อธิบายได้ว่าทำไมจึงเลือกอาหารนั้น

อธิบายรายละเอียดองค์ประกอบของการบริโภคที่สมดุล

  • ให้นักเรียนเขียนรายการอาหารที่นักเรียนได้รับประทานในสองวันที่ผ่านมา
  • ให้นักเรียนจับคู่ทำงานร่วมกัน เพื่อวิเคราะห์การบริโภคของเพื่อน และอธิบายว่าเป็นการบริโภคที่สมดุลหรือไม่อย่างไร

ครูจดบันทึกถามนักเรียน โดยให้นักเรียนย้อนกลับไปทบทวนพีรามิดอาหารและข้อมูลเรื่องอาหารประเภทใดควรบริโภคมากน้อยเท่าไรในแต่ละวัน และกระตุ้นให้เกิดการอภิปรายในห้องเรียน   นำเสนอคำถามชวนคิด

  • เราสามารถเปลี่ยนลักษณะการบริโภคของเราได้อย่างไร
  • เราสามารถนำความเข้าใจที่เราได้เรียนรู้ไปใช้ในการปฏิบัติจริง เพื่อให้เกิดความสมดุลในการบริโภคได้อย่างไร

การประเมินผลอย่างต่อเนื่อง

ประเมินว่านักเรียนมีความสามารถต่อไปนี้

  • ประเมินและวิเคราะห์การบริโภคอาหารของตัวเองได้
  • สามารถเลือกทางเลือกที่เหมาะสมที่จะนำซี่งการเปลี่ยนแปลงได้
  • จัดการวางแผนเพื่อปรับการบริโภคของตัวเอง
  • นำองค์ประกอบต่างๆเกี่ยวกับสุขภาพ การบริโภคอย่างสมดุลมาใช้ในการเลือกอาหารเช้าได้

จัดเมนูอาหารเช้าและอาหารกลางวันที่มีประโยชน์สำหรับชั้นเรียนของเรา

  • ให้นักเรียนทำงานเป็นกลุ่ม โดยใช้ความรู้เกี่ยวกับการบริโภคที่สมดุลคิดเมนูอาหารเช้า
  • ให้นักเรียนประเมินราคาอาหาร การจัดการเตรียมอาหารมาโรงเรียน ถามความชื่นชอบของเพื่อในกลุ่ม ประโยชน์ที่ได้รับจากอาหารนั้น
  • ให้แต่ละกลุ่มนำเสนอแผนการอาหารเช้านั้นกับเพื่อนในห้อง
  • ด้วยความช่วยเหลือของผู้ปกครองและพ่อแม่ ให้นักเรียนช่วยเตรียมอาหารเช้าหรือกลางวันที่มีประโยชน์

ประเด็นสำคัญที่สุด

  • ให้นักเรียนจัดการข้อมูลที่ตัวเองได้เรียนรู้ในหัวข้อนี้ และเลือกวิธีนำเสนอสิ่งที่ได้เรียน เช่น นักเรียนอาจเลือกนำเสนอโดยใช้กราฟ สื่อต่างๆ นำเสนอโดยเรียงลำดับเหตุการณ์ ฯลฯ
  • ทำเกมส์ที่มีเนื้อหาเกี่ยวกับสิ่งที่เรียนมาขึ้นกระดาน ให้นักเรียนได้เล่นกับเพื่อนร่วมห้องเพื่อแสดงว่านักเรียนได้รับความรู้และเข้าใจ
  • ให้งานอ่านเสริมที่เกี่ยวข้อง (เช่นให้นักเรียนทั้งห้องอ่านหนังสือพิมพ์)
  • ให้นักเรียนทำหนังสือทำมือจากความรู้ที่เรียนมา เพื่อให้นักเรียนรุ่นน้องหรือให้ห้องสมุดโรงเรียน
  • ให้นักเรียนแลกเปลี่ยนสิ่งที่เรียนมากับผู้ปกครอง พ่อแม่ เมื่อกลับบ้าน

อภิธานศัพท์ เป้าหมายครอบคลุม (Overarching Goals): เป้าหมายที่ครอบคลุมหัวข้อทั้งหมด ปรับเข้าสู่บรรยากาศ  (Tuning In): ค้นหาว่านักเรียนรู้อะไรอยู่แล้วในหัวข้อนี้ ในขณะเดียวกันค้นหาว่านักเรียนต้องการอยากรู้อะไร เพื่อกระตุ้นให้นักเรียนสนใจและมีความกระตือรือร้นกับหัวข้อนั้น ระดมสมอง (Brainstorm): การแลกเปลี่ยนในกลุ่มและวิพากท์เพื่อให้ได้ความคิดที่หลากหลาย คำถามเชิงชี้แนะ (Guiding Questions): คำถามที่เกียวกับหัวข้อที่เรียนรู้ ที่ชี้แนะหรือสนับสนุนให้เกิดการคิด ค้นหา และการมีส่วนร่วมในการเรียนรู้ สื่อเสนอให้เห็นโครงสร้าง (Graphic Organiser): สื่อหรือกราฟหรือภาพประกอบที่ช่วยให้นักเรียนเห็นการจัดการเชิงรูปธรรม เช่น กราฟตัววาย Y กราฟตัวที T กราฟก้างปลา แผนที่โครงสร้าง ผังการจัดการ สิ่งเหล่าหาได้ไม่ยากในอินเตอร์เน็ท โครงร่างระบบการเรียนรู้แบบรูบิค  (Rubrics): ครูหรือนักเรียนสร้างโครงร่างการเรียนรู้จากหัวข้อที่กำลังเรียนอยู่เพื่อช่วยประเมินตัวเองในกระบวนการเรียนรู้ การประเมินอย่างไม่เป็นทางการ (Formative Assessment): การประเมินผลของครูและนักเรียนในการประมเนตนเอง ที่สามารถทำได้โดยผ่านการแสดงออกเช่น การเล่นละคร การนำเสนอหน้าห้อง การผลิตงานเขียน หรืการใช้สื่อเทคโนโลยี รวมทั้งผ่านงานศิลปะต่างๆ การประเมินแบบสรุปความ (Summative Assessment): การทดสอบโดยยึดระบบและตามกรอบของโรงเรียน ประเด็นสำคัญที่สุด (Culmination): ส่วนสุดท้ายของหัวข้อที่นักเรียนจะแสดงออกถึงความเข้าใจของตัวเองโดยผ่านวิธีการต่างๆ เช่น การเล่นละคร การนำเสนอหน้าห้อง การผลิตงานเขียน หรืการใช้สื่อเทคโนโลยี รวมทั้งผ่านงานศิลปะต่างๆ

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *