Categories
articles

MOM’S WAY

MOM’S WAY TO SUCCESSFUL STUDENT CENTERED LEARNING: THE PROOF IS IN THE PUDDING AND IN RESEARCH

By Peter J. Foley, Ed.D, editor and chief

My mom, Jackie Turner Foley, was a teacher who collaborated with her students. She taught children from ages 8 to 16 years old who had never learned to read properly and subsequently fell far, far behind their peers in academics. When schools no longer felt they could help such students stay in school and learn something, they called Ms. Jackie, the teacher of last resort. She was remarkably successful in teaching these children—many times labeled “unteachable” by the referring public schools, not only in getting them to read well but in them getting them to love learning.

When going through some of her papers recently, I came across this short piece of writing:

The learning process should be saturated with warmth and empathy. The key (to the successful teaching of reading) lies in allowing the student to reach out for the information he or she needs and develop his/her own ideas. As one youngster put it: ‘Mrs. Foley didn’t teach me a thing; I did it all myself.’

Dated March 1973

Educational Research over the last 40 years since my mom wrote this, has confirmed the wisdom of my mom’s student centered learning approach.

Let’s start with empathy in teaching.

Researchers have found that students who have caring relationships with their teachers are more motivated and perform better academically than students who do not have such relationships (Foster 1995; Gay 2000; Irvine, 1990). The renowned educator, Ted Sizer, had a similar prescription in calling for teachers acting as coaches and guides instead of the all too often, the one way communication of teacher to student.

A decade after my mom’s memo on education that I discovered in her files this week, Ted Sizer started the Coalition of Essential Schools in the United States. This educational movement included more that 1,000 schools and the principles of the schools were the same principles my mom espoused: high expectations; students constructing personalized meaning in their learning; teaching kids first and subjects as second, giving kids a part in the decision making on what was to be learned, and, of course, the teacher acting as a coach and mentor.

This is a good summation of principles of student centered learning.

Where my mom got her inspiration (and perhaps Sizer too) was in the methods of Marie Montessori. Like Montessori, my mom had high expectations for her students, and she made her lesson exercises in learning by doing. She was also influenced by John Dewey and thus believed in using democratic methods in her small groups in making decisions about learning or how the class would be conducted. Mom liked to stimulate conversation with her small groups of students about their thought process in solving a particular problem or having arrived at a particular idea after reading a passage. She was fond of saying to her students: “What shall we do next?”

Again, research has borne out that students’ learning improves with such participatory strategies (Biemiller&Meichenbaum, 1992).

Mom, I recall, insisted that her students concentrate on how they arrived cognitively at their conclusions or answers: “Tell me how you come to that conclusions?”; “Tell me how were you thinking?”; “How did you do that?”. Mom was teaching her students what is frequently referred to as metacognition skills that is, teaching students how to monitor their thinking and using these observations to guide them in strategies for solving problems or completing tasks. Research has shown that these skills boost students’ performance both in the classroom and on tests (Dunlosky, Serra, and Baker, 2007).

Mom also was careful to build on what the child already knew. I am not sure if mom was familiar with Lev Vygotsky’s work that became a base for educational psychology in the 1970’s even though Vygotsky died in the 1930’s. It was Vygotsky who postulated that learners had what he called the zone of proximal development( ZPD), the distance between what children can do by themselves and the next learning that children can be helped to achieve with competent assistance. It is out of Vygotsky’s work that the present day popular teaching method of scaffolding grew. One way of defining scaffolding as a teaching method is when a teacher models a desired learning strategy or task and then gradually shifts the responsibility to the students.

Mom used this technique over and over again, by giving her students help with only the skills that were new or beyond their ability. Research indicates that scaffolding minimizes failure, which decreases frustration, especially with special learning needs children (Van Der Stuyf, R, 2002).

The proof of mom’s methods was shown in the success she had in teaching children with special needs how to read with comprehension. Research 40 years after her note on her methodology shows just how right she was in employing the principles of teaching that have been touched on in this article. They are principles incorporated in the rubric student centered learning. Sadly, both in the United States and in Thailand, many public schools still teach by rote with a one way communication, that is, teachers lecturing to students. Student centered learning in both Thailand and the United States has yet to win the hearts and minds of teachers and administrators.

In the words of folk singer Bob Dylan: “when will we ever learn, when will we ever learn”.MOM’S WAY TO SUCCESSFUL STUDENT CENTERED LEARNING: THE PROOF IS IN THE PUDDING AND IN RESEARCH

By Peter J. Foley, Ed.D, editor and chief

 

คุณแม่ของผม, แจคกี้ เทิร์นเนอร์ โฟลีย์ เป็นคุณครูที่ทำงานช่วยเหลือกับเด็กนักเรียนของท่าน ท่านสอนนักเรียนตั้งแต่อายุ 6 ถึง 16 ปี ซึ่งเด็กนักเรียนเหล่านี้ เป็นเด็กที่ไม่เคยเรียนรู้วิธีการอ่านหนังสืออย่างถูกต้อง และยังเรียนได้ช้าตามหลังเพื่อนๆ เมื่อทางโรงเรียนรู้สึกว่า ไม่สามารถช่วยนักเรียนกลุ่มนี้ที่อยู่ในโรงเรียนเรียนรู้ได้ จึงเรียก มิสแจคกี้, the teacher of the last resort คุณแม่ประสบความสำเร็จอย่างน่าทึ่งในเรื่องของการสอนเด็กๆเหล่านี้ ที่หลายๆครั้งได้รับนามว่า “ unteachable” จากโรงเรียนของรัฐบาล คุณแม่ไม่เพียงแต่สอนพวกเขาให้อ่านได้เท่านั้น แต่ยังทำให้พวกเขารักในการเรียนรู้ด้วย เมื่อได้อ่านบางส่วนของบันทึกของคุณแม่ ผมได้นำบางส่วนสั้นของบันทึกของแม่ไว้ว่า:

 

กระบวนการเรียนรู้ควรเริ่มต้นขึ้นด้วยความอบอุ่นและเอาใจใส่ เป็นสิ่งสำคัญ (เพื่อความสำเร็จในสอนเรื่องการอ่าน) ในการทำให้เด็กนักเรียนเอื้อมถึงเนื้อหาที่พวกเขาต้องการและ พัฒนาแนวความคิดของเขา เหมือนอย่างเช่นเด็กน้อยคนหนึ่งว่า “ มิสซิส โฟลีย์ไม่ได้สอนหนู แต่หนูเรียนด้วยตัวเอง”

 

วันหนึ่งในเดือนมีนาคม 1973

งานวิจัยด้านการศึกษา 40 ปีหลังจากที่คุณแม่ของผมได้เขียนสิ่งนี้ไว้ ได้เป็นสิ่งยืนยันถึงภูมิปัญญาของคุณแม่ เรื่องการเข้าถึงนักเรียนเป็นศูนย์กลางกาเรียนรู้

 

เริ่มจากความเอาใจใส่การสอน

 

นักวิจัยได้ค้นพบว่า นักเรียนที่มีรับความสัมพันธ์แบบห่วงใยจากคุณครูของเขา จะมีแรงจูงใจและทำงานได้ดีกว่านักเรียนที่ไม่ได้รับความสัมพันธ์ดังกล่าว(Foster 1995; Gay 2000; Irvine, 1990) Ted Sizer, นักวิชาการที่มีชื่อเสียงคนหนึ่งมีมาตรการในการให้คุณครูทำหน้าที่เหมือนเป็นโค้ช และให้คำแนะนำแทนบ่อยๆ ซึ่งเป็นวิธีหนึ่งในการสื่อสารระหว่างคุณครูและนักเรียน

 

หนึ่งทศวรรษ หลังจากที่คุณแม่เขียนบันทึกไว้ ซึ่งฉันได้ไปค้นเจอบันทึกนี้ในไฟล์งานของท่านในสัปดาห์นี้  Ted Sizer ได้เริ่มก่อตั้ง

Coalition of Essential Schools ในสหรัฐอเมริกา การเคลื่อนไหวด้านการศึกษานี้ได้รวบรวมโรงเรียนต่างๆมากกว่า 1000 โรงเรียน และหลักการในการดำเนินการของโรงเรียนเป็นแบบเดียวกันกับคุณแม่ผม คือ ความคาดหวังที่สูง, การสร้างนิยามส่วนตัวของนักเรียนในการเรียนรู้, สอนเด็กๆก่อนแล้วค่อยสอนวิชาการ คือ ให้เด็กๆเป็นส่วนหนึ่งในการตัดสินใจว่า ต้องการเรียนอะไรในหลักสูตร และคุณครูควรจะเป็นเหมือนโค้ชและพี่เลี้ยง นี่คือผลรวมที่ดีของหลักการนักเรียนเป็นศูนย์กลางการเรียนรู้

 

คุณแม่ของผมได้รับแรงบันดาลใจ (และอาจ Sizer ด้วยเช่นกัน) มาจากวิธีการของ Marie Montessori เช่นเดียวกับ Marie Montessori คุณแม่ของผมมีความคาดหวังสูงในตัวนักเรียนของท่าน และท่านทำแบบฝึกหัดบทเรียนของแม่ในการเรียนรู้ด้วยการลงมือทำ ท่านยังได้รับอิทธิพลจาก John Dewey ซึ่งเชื่อในการใช้ประชาธิปไตยในกลุ่มเล็ก ๆ ของเธอในการตัดสินใจเกี่ยวกับการเรียนรู้หรือวิธีการเรียนในห้องเรียนควรเป็นในรูปแบบใด คุณแม่ชอบที่จะกระตุ้นให้เกิดการสนทนากับกลุ่มเล็ก ๆ ของนักเรียนของคุณแม่ เกี่ยวกับกระบวนการคิดของพวกเขาในการแก้ปัญหาเฉพาะหรือมีความคิดเฉพาะหลังจากที่ได้ผ่านการอ่านบทความต่างๆ  คุณแม่มักจะพูดกับนักเรียนของท่านเองว่า “เราควรจะทำอะไรต่อไปกัน”

 

ทั้งยังได้มีงานวิจัยเกี่ยวกับการพัฒนากาเรียนรู้ของนักเรียนขึ้นอยู่กับกลยุทธ์ของการมีส่วนร่วมดังกล่าว(Biemiller&Meichenbaum, 1992).

 

ผมจำได้ว่า คุณแม่ของผมยืนยันที่จะให้นักเรียนของท่านให้ความสนใจในการรวบรวมองค์ความรู้จากทีเป็นข้อสรุปและคำตอบของพวกเขา “บอกครูว่า นักเรียนได้ข้อสรุปเช่นนี้ได้อย่างไร?” “บอกครูว่า นักเรียนคิดได้อย่างไร” “นักเรียนทำได้อย่างไร”  ซึ่งคุณแม่ได้กำลังสอนนักเรียนของท่านในทักษะที่เรียกว่า อภิปัญญา ซึงเป็นการสอนนักเรียนให้ตรวจสอบความเห็นของเขาและจากทักษะการสังเกตเหล่านี้จะนำให้พวกเขารู้จักการแก้ปัญหาหรือทำงานให้สำเร็จลุล่วงได้ มีงานวิจัยได้แสดงให้เห็นว่า ทักษะเหล่านี้ทำให้เพิ่มศักยภาพของนักเรียนทั้งในห้องเรียนและในการทดสอบแข่งขัน (Dunlosky, Serra, and Baker, 2007).

 

 

คุณแม่ยังคงระมัดระวังในสิ่งที่นักเรียนรู้อยู่แล้ว ผมไม่แน่ใจว่า คุณแม่จะคล้ายๆกับการทำงานของ Lev Vygotsky ซึ่งงานนี้ได้กลายเป็นพื้นฐานของจิตวิทยาด้านการศึกษา ในปี 1970  ถึงแม้ว่า Vygotsky เสียชีวิตในปี 1930 ซึ่งเป็น Vygotsky ทีเป็นผู้ตั้งสมติฐานว่า ผู้เรียนจะมี zone of proximal development( ZPD) ซึ่งเป็ช่องว่างระหว่างสิ่งที่เด็กๆสามารถทำได้ด้วยตัวเองกับเพิ่มการเรียนรู้ต่อไป เพื่อให้เด็กนักเรียนสามารถได้รับความช่วยเหลือและนำไปสู่ความสำเร็จ สิ่งนี้นอกเหนือจากงานของ Vygotsky ซึ่งเป็นวิธีการสอนที่เป็นแบบ scaffolding grew เป็นวิธีที่เป็นที่นิยมในปัจจุบัน วิธีการหนึ่งในการกำหนด scaffolding เป็นวิธีการสอน คือ เมื่อคุณครูสร้างแบบจำลองกลยุทธการเรียนรู้ หรือโครงงาน จากนั้นให้มอบหมายให้เป็นความรับผิดชอบของนักเรียน

คุณแม่ใช้เทคนิคนี้ซ้ำแล้วซ้ำอีก โดยการมอบหมายให้นักเรียนได้มีส่วนช่วยเหลือตามทักษะและความสามารถของนักเรียนเอง นักวิจัยชี้ชัดว่า scaffolding ลดความผิดพลาด ซึ่งลดความยุ่งยาก โดยเฉพาะ เด็กที่ต้องการการเรียนรู้แบบพิเศษ (Van Der Stuyf, R, 2002)

 

สิ่งที่เป็นการพิสูจน์วิธีการของคุณแม่เห็นได้จากความสำเร็จจากการสอนเด็กที่ต้องการการเรียนรู้แบบพิเศษ สามารถเรียนรู้ที่จะอ่านหนังสือได้ด้วยความเข้าใจ งานวิจัย 40 ปี หลังจากที่คุณแม่ได้บันทึกวิธีการของแม่ไว้ ได้แสดงให้เห็นถึงความถูกต้องของหลักการการสอนของคุณแม่ งานวิจัยได้ขึ้นทะเบียนสำหรับการสอนโดยมีนักเรียนเป็นศูนย์กลางกาเรียนรู้ เป็นที่น่าเศร้าใจ ทั้งในสหรัฐอเมริกาและไทย มีหลายๆโรงเรียนที่ยังคงสอนนักเรียนให้จดและท่องจำ โดยมีการสื่อสารเพียงทางเดียวในห้องเรียน ซึ่งคุณครูจะเป็นคนบรรยายให้กับนักเรียน หลักการเรียนรู้โดยมีนักเรียนเป็นศูนย์กลางการเรียนรู้ ยังคงไม่สามารถชนะใจครูและผู้บริหารได้เลย

 

จากคำกล่าวของนักร้องเพลงโฟล์ก Bob Dylan  “when will we ever learn, when will we ever learn”.

 

2 replies on “MOM’S WAY”

Inspiration by motherly touch is critical in teaching. I used to stay away from the class of my last year in my medical education when I felt the teacher is not fair. Who I am today is due to the motivation given by the teachers I loved and due to my mothers, who were brave and go forth unafraid.

There will always be a place for the human element in teaching, that relationship between teacher and student is a valuable teaching tool, not an “extra”.

Leave a Reply to Honey Cancel reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *