Categories
articles Featured Articles

What Should be Taught to Our Children in the 21st Century: A Student Centered Learning Approach. By Peter J. Foley, Ed.D. เราควรสอนอะไรให้กับเด็กๆของเราในศตวรรษที่ 21 : เพื่อเข้าถึงการเรียนรู้แบบมีนักเรียนเป็นศูนย์กลาง โดย ดร. ปีเตอร์ เจ. โฟลีย์

To paraphrase U.S. President Bill Clinton’s famous election mantra “it’s the economy, stupid”, my answer to what should be taught to students in the 21st century is:  it’s the three R’s, stupid.

I don’t mean this in the tradition of conservative educators who periodically rise up in the middle of a progressive education moment and declare that the education system must get back to basics, that kids need to learn to read and to do their numbers. Still, I am strong in the belief that children should  learn to read at an early age. And this means being read to before attending primary school. I am painfully aware of the “Matthew Effect” where students who have not mastered reading in the early primary years are unlikely to ever catch up. Nevertheless, the bye- gone days of “See Dick run” and See Jane run”  of the traditional children’s readers do not fulfill the demands of the 21th century where problems like climate change, the  threat of nuclear disaster, and air and water pollution must be solved through collective ingenuity and collective agreement.

So I am not in favor of just teaching Johnny to read “See Jane run”,  or in mathematics  class for Johnny to learn simply by rote. My position is that children must be coached in asking questions and then seeking answers both individually and collectively.  So, Johnny needs to be coached to ask:  “Where is Jane  running and why is she going there?  Why isn’t Jane walking? What is the condition of the path she is running on? Is it safe?  What does Jane look like?  Is she happy?  After wondering about these questions  a child should be able to consult her or his peers to find out what they are wondering about.  Similarly, in math class practical problems  involving a student’s daily life need to be the norm.

I realize that these arguments have  been raging for  centuries with the volume being turned up considerably  at this dawn of the 21st century.  What is different now is that with the benefit of cognitive science we know more about how to go about coaching students on how to go about problem solving.

We know more about how the mind makes associations and more about how students reach a deep understanding  of a subject and the problems associated with that subject. As teachers, we learn to help our students improve  meta-cognition, that is how they go about thinking about subject or problem. In sum, students should be helped to develop strategies on how to think in order to solve a problem.  In reading, for example, we have a group of strategies that can be taught to dramatically increase reading comprehension.

I am deliberately using the word coaching instead of teaching simply because we sometimes understand the word teaching to mean lecturing, a one way communication from teacher to student. I am of the school that this method is highly ineffective for many, perhaps most, learning.  Much more effective, is the teacher learning with the student and helping the student teach themselves or each other.  This goes  back to what Socrates believed: we learn best when we discover the answers ourselves.

This approach to learning  translates into the 21st classroom looking and feeling much different from  the traditional classroom that has the teacher in front of the class and the student  lined up in a rows waiting to be taught.  A more congenial configuration for the 21st century is a flexible seating arrangement where students can quickly work in pairs or groups  or go to separate tables where they can work on projects.  The teacher is much more a participant in the learning process, not the fountain of all knowledge. Learning and questions are shared by everyone in the class.  One label used to identify this type of learning and classroom is called student centered learning. Part of this process is broken into other rubrics called project based learning, inquiry based learning,  peer based learning and activity based learning just to mention a few.  In all these types of learning a common feature  is what some refer to as the scientific method approach.  Put in another way, using deductive reasoning. The process starts with framing the question or problem to be solved; making observations; forming a hypotheses; making logical deductions and then testing these deductions or conducting an experiment.  In short, while it is important what is taught (the curriculum) it is equally important how we coach (teach) students in the 21 century, that is, how students go about learning.

So, let’s get to the heart of the matter:  what should be the core, universal learning competencies we want future generations to have.

You know from my opening salvo, that common sense tells us that knowing how to read, I mean really read, is the essential skill to be mastered and should be mastered thoroughly in primary education.  And I have touched on what real reading means: i.e. deep understanding.  Perhaps you can think of this as the floor to one’s education. We build from there.

By dwelling on reading, I did not mean to ignore the other essential skills needed in the 21st century. If we continue to use the analogy of building a house, we can think of working together as the skill needed to actually plan and put together the house along with the scientific and math skills to make sure all is plumb and well-fitting.

Thus, of  particular importance are what some call life skills and what I call social skills—being able to get along and cooperate with peers and superiors to solve problems and accomplish tasks.  I include in this skill set leadership.  How do we teach leadership?  The partial answer is we provide opportunities for practice starting at an early age. Previously, I mentioned a classroom that is student centered and in that context, the teacher uses project based learning.  Groups that take on complicated projects need to put personal skills to work and these groups must have leadership the group can rely on to successfully complete the project.

This is the information and digital age, yet  I deliberately mentioned first and foremost  gaining the basic skills of reading and writing in the 21st century and acquiring  social skills.

Digital learning follows and has a high place in learning competencies future generations of learners must have.  I continue to believe it is worthwhile to introduce primary school children to computers and computer programs; however, it is in the post primary school years that I think digital learning is critical.  This is the time in a young person’s life when he or she must search for information outside their immediate experience and those people and learning materials students have immediate access to..  It is on the world wide web and many other digital tools where many of these answers can be found.

The International Baccalaureate  three programmes of international education for students aged 3 to 19  represents to date one of the best summations of what international learning standards in the 21st century should look like.  It is a system that should be studied carefully before entering in a newer paradigm.

What I have attempted in this short space it to give the reader an introduction to some of my basic thinking  about what the most important learning competencies for the 21 century are and how those competencies should be learned.

ถ้าจะลองพูดตามประโยคหาเสียงอันโด่งดังของประธานาธิบดีคลินตันที่ว่า “ต้องเศรษฐกิจสิ” คำตอบของผู้เขียนว่าเราควรสอนอะไรให้แก่นักเรียนในศตวรรษที่ 21 ก็จะเป็น “ต้อง 3R’s สิ” (ได้แก่ การอ่าน Reading การเขียน wRiting และการคำนวณ aRithmetic – ผู้แปล)

ผู้เขียนไม่ได้หมายความถึงเรื่องที่นักการศึกษาอนุรักษ์นิยมพูดถึงบ่อยๆในระยะนี้ที่ระบบการศึกษากำลังพัฒนาว่า ระบบการศึกษาสมควรกลับไปที่วิธีพื้นฐาน คือนักเรียนต้องเรียนอ่านและคำนวณ ผู้เขียนยังคงเชื่ออย่างหนักแน่นว่าเด็กควรได้รับการปลูกฝังเรื่องการอ่านตั้งแต่ยังเล็ก –หมายถึงตั้งแต่ก่อนเข้าเรียนชั้นประถม- ผู้เขียนตระหนักดีถึงความเป็นจริงอันโหดร้ายของ “ผลกระทบของแมทธิว” ที่ซึ่ง นักเรียนที่ไม่มีทักษะการอ่านที่เพียงพอในช่วงปีแรกของการเรียนชั้นประถมมักจะถูกทิ้งไว้ข้างหลังอย่างยากที่จะตามทัน อย่างไรก็ดี หนังสือแบบเรียนหัดอ่านสำหรับเด็กที่เลิกใช้ไปแล้วอย่าง “ดิ๊กและเจน” ไม่สามารถตอบสนองต่อความต้องการของยุคสมัยของศตวรรษที่ 21 ที่ซึ่งเรากำลังเผชิญกับปัญหาอย่างการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศโลก, การคุกคามของมหันตภัยนิวเคลียร์ และมลภาวะทางน้ำและอากาศที่ต้องได้รับการแก้ไขอย่างชาญฉลาดด้วยข้อตกลงร่วมกัน

ดังนั้นผู้เขียนจึงไม่เห็นด้วยกับการที่เราเพียงแค่สอนให้นักเรียนอ่านเขียนและคิดเลขเป็น จุดยืนของผู้เขียนคือการที่นักเรียนต้องได้รับการแนะนำดูและให้สามารถตั้งคำถามและแสวงหาคำตอบทั้งด้วยตัวเองและร่วมกับผู้อื่น ดังนั้นนักเรียนที่อ่าน ดิ๊กและเจน จะต้องได้รับการชี้แนะเพื่อที่จะตั้งคำถาม “เจนวิ่งไปที่ไหนและวิ่งไปทำไม? ทำไมเธอไม่เดินแทน? ทางที่เจนวิ่งไปเป็นอย่างไร? มันปลอดภัยไหม? เจนหน้าตาเป็นอย่างไร? เธอมีความสุขไหม?” ได้ หลังจากคิดถึงคำถามเหล่านี้ เด็กสมควรที่จะสามารถดึงตัวเองหรือเพื่อนเพื่อคิดหาคำตอบของข้อสงสัยเหล่านั้นได้ เช่นเดียวกับการฝึกฝนเพื่อแก้ปัญหาในชั้นเรียนวิชาคณิตศาสตร์ ควรจะมีพื้นฐานอยู่ในชีวิตประจำวันของนักเรียน

ผู้เขียนตระหนักดีว่าข้อถกเถียงเหล่านี้ได้รับการหยิบยกขึ้นมาพูดถึงเป็นเวลานานพร้อมๆกับการก้าวเข้าสู่เริ่มต้นของศตวรรษที่ 21 สิ่งที่แตกต่างไปในปัจจุบันคือประโยชน์ของความรู้ความเข้าใจทางวิทยาศาสตร์ที่ทำให้เราเข้าใจมากขึ้นถึงการฝึกฝนนักเรียนในด้านการแก้ปัญหา

เราเข้าใจมากขึ้นเกี่ยวกับการทำงานของสมองและวิธีที่นักเรียนพัฒนาไปสู่ความเข้าใจในระดับลึกของเรื่องและปัญหาที่เกี่ยวข้องกับเรื่องนั้นๆ ในฐานะผู้สอน เราเรียนรู้ที่จะช่วยให้นักเรียนของเราพัฒนาฐานของความเข้าใจ นั่นคือวิธีที่นักเรียนจะคิดเกี่ยวกับเรื่องหรือปัญหา โดยสรุปคือ นักเรียนควรที่จะได้รับการช่วยเหลือเพื่อพัฒนาโครงสร้างทางความคิดเพื่อที่จะแก้ปัญหา ยกตัวอย่างเช่นในการอ่าน เรามีหลักสำคัญที่จะสามารถสอนเพื่อเพิ่มความเข้าใจในการอ่าน

ผู้เขียนตั้งใจใช้คำว่าการฝึกสอนแทนคำว่าการสอน เพราะหลายครั้งที่เราเข้าใจว่าการสอนหมายถึงการบรรยาย – การสื่อสารทางเดียวจากอาจารย์ถึงนักเรียน- ผู้เขียนว่าในโรงเรียน การสอนด้วยวิธีนี้ไม่ได้ผลกับการเรียนรู้บางอย่าง หรืออาจจะเกือบทั้งหมดด้วย วิธีที่ได้ผลกว่ามากคือการที่ครูเรียนรู้ไปกับนักเรียนและช่วยนักเรียนสอนตัวเองหรือคนอื่น ดังเช่นที่โสเครตีสเชื่อว่า: เราจะเรียนรู้ได้ดีที่สุดเมื่อเราได้ต้นพบคำตอบด้วยตัวเอง

ห้องเรียนในศตวรรษที่ 21 จะมีลักษณะและให้ความรู้สึกแตกต่างอย่างมากกับห้องเรียนแบบเดิมที่มีครูยืนสอนอยู่หน้าชั้นและนักเรียนนั่งเรียงหน้ากระดานรอความรู้ป้อนส่งมา ภาพที่น่าจะเป็นมากกว่าคือการจัดที่นั่งอย่างหลวมๆ สามารถเคลื่อนย้ายได้ง่ายเมื่อนักเรียนต้องทำงานเป็นคู่หรือแยกทำงานเดี่ยวของตัวเอง ครูมีส่วนร่วมมากขึ้นในกระบวนการเรียนรู้ ไม่ใช่น้ำพุแห่งความรู้ การเรียนและการถามตอบกระจายไปทั่วทั้งห้องเรียน ที่เราเรียกกระบวนการเรียนรู้แบบนี้ว่าเป็นการเรียนรู้โดยมีนักเรียนเป็นศูนย์กลาง ส่วนหนึ่งของกระบวนการนี้ถูกแยกออกมาเป็นอีกหนึ่งอย่างที่เราเรียกว่าการเรียนรู้จากการทำงาน, การเรียนรู้จากการถาม, การเรียนรู้กับเพื่อน และการเรียนรู้จากการทำงาน ฯลฯ ในรูปแบบการเรียนรู้ทั้งหมดที่กล่าวมานั้นมีสิ่งหนึ่งที่เหมือนกันคือการใช้วิธีการทางวิทยาศาสตร์เพื่อค้นหาคำตอบ หรือในอีกแง่หนึ่ง คือการใช้เหตุผลแบบนิรนัย กระบวนการเริ่มต้นโดยการกำหนดคำถามหรือปัญหาที่ต้องการคำตอบ, การสังเกต, สร้างสมมติฐาน, และการทดลองเพื่อพิสูจน์ข้อสมมติฐานนั้นๆ โดยสรุปคือ สิ่งที่จะสอน(หลักสูตร)นั้น มีความสำคัญเท่าเทียมกันกับวิธีที่เราจะแนะนำ(สอน)นักเรียน นั่นคือวิธีที่นักเรียนจะได้เรียนรู้

ดังนั้น มาเข้าเรื่องกันถึง : อะไรที่ควรจะเป็นทักษะสำคัญหรือสมรรถภาพในการเรียนรู้ที่เราต้องการจากคนรุ่นหลัง

จากการรวบรวมข้อมูลจากหลายๆแหล่ง สามัญสำนึกบอกเราว่าสิ่งนั้นคือการอ่าน ผู้เขียนหมายความอย่างนั้นจริงๆ การอ่านเป็นทักษะที่ต้องฝึกฝน และควรได้รับการฝึกฝนให้เชี่ยวชาญในช่วงต้นของการเรียน และผู้เขียนต้องการย้ำว่าการอ่านจริงๆหมายความว่าอย่างไร; ความเข้าใจอย่างลึกซึ้ง คุณอาจจะนึกภาพว่าการอ่านคือพื้นฐานของการศึกษาของคนๆหนึ่ง เราสร้างความรู้ขึ้นมาจากที่นั่น

สิ่งสำคัญต่อมาคือสิ่งที่เราอาจเรียกว่า ทักษะชีวิต หรือที่ผู้เขียนเรียกว่าทักษะทางสังคม – ความสามารถในการเข้าร่วมและทำงานร่วมกับผู้อื่นเพื่อแก้ปัญหาและทำงานให้สำเร็จลุล่วง ผู้เขียนหมายรวมถึงทักษะของการเป็นผู้นำเข้าไปด้วย เราจะสอนให้เด็กมีความเป็นผู้นำได้อย่างไร คำตอบหนึ่งคือโดยการสร้างโอกาสให้เด็กได้ฝึกฝนตั้งแต่อายุยังน้อย ก่อนหน้านี้ที่ผู้เขียนกล่าวถึงชั้นเรียนที่มีนักเรียนเป็นศูนย์กลาง และครูใช้การเรียนรู้โดยการทำงานเป็นกระบวนการสอน กลุ่มทำงานที่ได้รับโจทย์ที่มีความซับซ้อนจำเป็นต้องดึงทักษะความสามารถของแต่ละบุคคลออกมาใช้ในการทำงาน และแต่ละกลุ่มตำเป็นต้องมีผู้นำที่กลุ่มสามารถไว้วางใจได้เพื่อให้การทำงานนี้สำเร็จลุล่วง

โลกปัจจุบันกำลังอยู่ในยุคข้อมูลดิจิตอล แต่ผู้เขียนยังคงจงใจที่จะกล่าวถึงการพัฒนาทักษะพื้นฐานแรกและสำคัญที่สุดของการอ่านและการเขียนในการเรียนรู้ในโลกศตวรรษที่ 21 นี้และการมีทักษะทางสังคม

การเรียนรู้ทางดิจิตอลสิบเนื่องและมีความจำเป็นมากที่ผู้เรียนในรุ่นหลังต้องมีความสามารถด้านนี้ ผู้เขียนยังคงเชื่อว่ามันเป็นเรื่องที่เหมาะสมและคุ้มค่าที่จะใส่การเรียนคอมพิวเตอร์และการใช้โปรแกรมให้กับเด็กนักเรียนชั้นประถม อย่างไรก็ดี ผู้เขียนคิดว่าการเรียนรู้เรื่องดิจิตอลเหมาะสมที่สุดกับเด็กวัยพ้นชั้นประถม ณ ขณะนี้เป็นยุคที่เด็กต้องหาข้อมูลจากนอกห้องเรียนและพวกเขาสามารถหาคำตอบมากมายได้ทันทีจากเครือข่ายและเครื่องมือทางดิจิตอลอื่นๆที่มีอยู่มากมายเช่นกัน

หลักสูตรปริญญาตรีนานาชาติสามหลักสูตรของการศึกษาสำหรับนักเรียนช่วงอายุ 3 – 19 แสดงออกมาเพื่อให้เห็นว่ามาตรฐานการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ควรเป็นอย่างไร ระบบนี้ควรได้รับการศึกษาอย่างใกล้ชิดก่อนที่จะเผยแพร่ต่อไป

สิ่งที่ผู้เขียนได้พยายามนำเสนอในพื้นที่อันจำกัดตรงนี้คือให้ผู้อ่านได้เข้าใจถึงแนวคิดบางส่วนของผู้เขียนเกี่ยวกับว่าอะไรคือสิ่งที่สำคัญที่สุดสำหรับความสามารถในการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 และเราจะได้ความรู้เหล่านั้นมาอย่างไร

4 replies on “What Should be Taught to Our Children in the 21st Century: A Student Centered Learning Approach. By Peter J. Foley, Ed.D. เราควรสอนอะไรให้กับเด็กๆของเราในศตวรรษที่ 21 : เพื่อเข้าถึงการเรียนรู้แบบมีนักเรียนเป็นศูนย์กลาง โดย ดร. ปีเตอร์ เจ. โฟลีย์

I am pleased to salute and commend to your attention Dr. Peter J Foley for the high quality and relevance of what he has been proposing from and for Thailand, a country where he is now resident and which he knows well and is currently serving along the lines of the nation’s goals set forth in the National Education Act of B.E. 2542 (1999).

It is an honor indeed to receive these gracious remarks from a most distinguished diplomat who also served as Undersecretary of State for Africa.

I would like others reactions on the question of what is important for students to learn
in the 21st century. We also would be happy to consider publishing further articles on this subject
Peter J. Foley, editor-in-chief

The role that personal reflection on your learning plays is promoted in PYP and I believe it is an important tool in allowing students to “learn” teamwork, and to be responsible as learners.

Leave a Reply to Peter J. Foley Cancel reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *