Categories
articles Opinion:World Education

High Performing Schools: What’s the secret?

All around the world, countries are trying to get better performance from schools and school systems.

Thailand is no exception to this effort.

We know that some systems perform better than others, and we know that the best schools and systems have a set of common things they do. There is no secret about the factors that lead to school and systemic excellence. It is a reasonable question to ask that in any table or list of high performing schools or systems, what are the standards used to judge the schools?

There are several ways of making these judgments. Most countries conduct nationally benchmarked testing systems – mostly in the areas of literacy and numeracy.  In Thailand, for example there are the O-net tests which provide an indication of the academic performance of schools on a nationally comparable basis.

Internationally, there are benchmarks provided by such organisations as the Organisation for Economic Cooperation and Development [OECD]. The OECD’s Program for International Student Assessment (PISA) enables comparisons to be made between systems, and between counties.

The PISA assessments examine such questions as:

    • Are students well prepared for future challenges?
    • Can they analyse, reason and communicate effectively?
    • Do they have the capacity to continue learning throughout life?

The PISA data provides answers to these questions, through its surveys of 15-year-olds in the principal industrialized countries. Every three years, it assesses to what extent students near the end of compulsory education, have acquired in knowledge and skills essential for participation in society. The questions are related to literacy, numeracy and science and more recently, digital literacy.

Neither source of data about systems’ performance comes from research organisations such as social research company McKinsey and the Grattan Institute at Melbourne University, Australia.

Research [2006 – 2010] into high performing  school systems  by McKinsey and Company  , looked at 25 school systems around the world, their findings being published  in the report – How the world’s best performing school systems come out on top [March 2008]

It is possible to obtain information about what it is that enables some schools to be rated as high performing, and through aggregation, what it is that makes some systems perform better than others.

Schools and systems seeking improvement can look to this evidence and use it to apply it to how they operate and they can also use the evidence to lobby for better support.

While there is a number of factors that lead to high performance, such as class size, demographics, budgets and so on, however research shows there is one factor that stands out above others. That factor is the quality of the teachers in schools.

There are three things which matter the most about getting high quality teachers into schools:

    • Getting the right people to become teachers
    • Developing new teachers into effective instructors
    • Ensuring the system is able to develop the best possible instruction for every child.

The McKinsey report found that in the 25 systems it examined, these three factors succeed in improving educational performance wherever they are applied.

Other studies provide strong evidence which support this.

In 2011 The Grattan Institute report Learning from the Best [http://www.grattan.edu.au] examined the four highest performing Asian systems – Singapore, Shanghai, South Korea and Hong Kong.

Specifically the researchers wanted to know: Why are these systems moving rapidly ahead of others?

Popular stereotypes about Asian education are strong in some countries. But this evidence challenges these stereotypes. In these four systems, high performance comes from effective education strategies that focus on implementing well-designed programs that continuously improve learning and teaching.

In just five years, Hong Kong moved from 17th to 2nd in PIRLS (Progress in International Reading Literacy Study) the international assessment of Grade 4 students’ reading literacy. In these four Asian systems, education reforms created rapid changes in reading literacy.

Success cannot be explained by what is often seen as an emphasis on rote learning in Asian systems. Students who rely on rote learning come to grief in PISA assessments, because PISA assesses meta-cognitive content knowledge and problem solving abilities. These skills are not conducive to rote learning. Rote learning in preparation for PISA assessment would lead to lower scores. Moreover, international research shows that classroom lessons in Hong Kong, for example, require greater deductive reasoning, with more new and advanced content.

Thai education policy makers would do well to look at the four high performing systems studied in the Grattan Report.  Anyone looking at the systems will soon see that have introduced one or several of the following reforms, they:

• Provide high quality initial teacher education. In Singapore, students are paid civil servants during their initial teacher education. Government evaluations have bite and can close down ineffective teacher education courses.

• Provide mentoring that continually improves learning and teaching. In Shanghai, all teachers have mentors, and new teachers have several mentors who observe and give feedback on their classes.

• View teachers as researchers. In Shanghai teachers belong to research groups that continually develop and evaluate innovative teaching. Teachers cannot rise to advanced teacher status without having a published paper peer reviewed

The challenge for Thailand is to look at these Asian systems and then ascertain what they can easily and quickly implement in the Thai context that is similar to the steps taken in Singapore Korea Shanghai and Hong Kong.

Thailand can do this.

Greg Cairnduff

Acting Editorโรงเรียนชั้นนำ:

เคล็ดลับคืออะไร?

ทั่วทุกมุมโลก หลายประเทศกำลังพยายามที่จะทำให้โรงเรียนและระบบโรงเรียนมีประสิทธิภาพที่ดีขึ้น ประเทศไทยเองก็ไม่เป็นข้อยกเว้น

เรารู้ว่าบางระบบโรงเรียนมีการดำเนินการดีกว่าที่อื่น และเรารู้ว่าโรงเรียนและระบบโรงเรียนที่ดีนั้นมีสิ่งที่เหมือนกันอย่างไร มันไม่มีความลับในด้านปัจจัยที่จะนำเราไปสู่การเป็นโรงเรียนและระบบการเยนการสอนที่ยอดเยี่ยม มันเป็นเรื่องสมเหตุสมผลถ้าเราจะถามว่าในตารางหรือรายชื่อของโรงเรียนชั้นนำในผลสำรวจของสถาบันต่างๆ อะไรคือหลักเกณฑ์ที่ใช้ในการตัดสินว่ามันเป็นอย่างนั้น?

มีอยู่หลายวิธีที่ใช้ในการตัดสิน ประเทศส่วนใหญ่จะใช้ระบบการสอบวัดผลกลางระดับประเทศ  ส่วนมากในด้านความรู้หนังสือและการคำนวณ ยกตัวอย่างเช่นในประเทศไทยจะมีการสอบโอเนตซึ่งเป็นการวัดผลการศึกษาของโรงเรียนในระดับพื้นฐานที่เทียบกันทั่วประเทศ

ในระดับนานาชาติ มีเกณฑ์เปรียบเทียบสมรรถนะที่จัดทำโดยหลายองค์การ อย่างเช่นองค์การเพื่อความร่วมมือทางเศรษฐกิจและการพัฒนา [OECD] หลักสูตรการประเมินผลนักเรียนนานาชาติของ OECD (PISA) สามารถใช้เป็นเกณฑ์เปรียบเทียบระหว่างระบบ และระหว่างประเทศ

ข้อประเมินของ PISA จะตรวจสอบในคำถามอย่างเช่น:

  • นักเรียนเตรียมพร้อมสำหรับปัญหาในอนาคตดีหรือยัง?
  • นักเรียนสามารถวิเคราะห์, ให้เหตุผลและสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพหรือไม่?
  • นักเรียนมีความสามารถที่จะเรียนรู้ต่อเนื่องไปตลอดชีวิตหรือไม่?

การสำรวจของ PISA จัดขึ้นเพื่อตอบคำถามเหล่านี้ผ่านการสำรวจข้อมูลจากเด็กอายุ 15 ปีในกลุ่มประเทศอุตสาหกรรม ทุกสามปีจะทำการประเมินว่านักเรียนที่กำลังจะสำเร็จการศึกษาภาคบังคับนั้นได้รับความรู้และทักษะอะไรที่จำเป็นในการดำรงชีวิตในสังคม หัวข้อคำถามจะเกี่ยวข้องกับภาษา, การคำนวณและวิทยาศาสตร์ และที่เพิ่มขึ้นมาในปัจจุบันคือ ความรู้ด้านเทคโนโลยีดิจิตอล

อีกแหล่งข้อมูลหนึ่งเกี่ยวกับการดำเนินการของโรงเรียนได้มาจากองค์การเพื่อการวิจัย อย่างเช่นบริษัทวิจัยเพื่อสังคมแมคคินซีย์และสถาบันกราทันของมหาวิทยาลัยเมลเบิร์น ประเทศออสเตรเลีย

การวิจัย [2549 – 2553] ในระบบโรงเรียนมัธยมที่มีประสิทธิภาพ โดยแมคเคนซีย์แอนด์คอมปานี รวบรวมจากโรเรียนมัธยม 25 แห่งทั่วโลก ผลการวิจัยถูกตีพิมพ์ในรายงาน – โรงเรียนชั้นนำก้าวขึ้นมาได้อย่างไร [มีนาคม 2551]

มันเป็นไปได้ที่จะเผยแพร่ข้อมูลว่าอะไรที่ทำให้บางโรงเรียนได้รับการจัดอันดับว่าเป็นโรงเรียนที่ดีและในกลุ่มโรงเรียนระดับสูงด้วยกัน อะไรคือสิ่งที่ทำให้บางโรงเรียนมีประสิทธิภาพดีกว่าที่อื่น

โรงเรียนที่กำลังจะปรับปรุงการเรียนการสอนของตนสามารถใช้ผลการวิจัยนี้เป็นแหล่งอ้างอิงและประยุกต์ใช้กับโรงเรียนของตน

ในขณะที่มีปัจจัยหลายอย่างที่ทำให้การเรียนการสอนมีประสิทธิภาพ เป็นต้นว่าขนาดของชั้นเรียน, บุคลากร, งบประมาณและอื่นๆ อย่างไรก็ตาม การวิจับแสดงให้เห็นว่ามีหนึ่งปัจจัยที่เด่นชัดกว่าข้ออื่นๆ สิ่งนั่นก็คือคุณภาพของอาจารย์ในโรงเรียน

มีหลักสำคัญสามประการในการให้โรงเรียนได้มีครูผู้สอนที่มีประสิทธิภาพ:

  • ให้คนที่เหมาะสมมาทำหน้าที่ครู
  • พัฒนาครูผู้สอนใหม่ๆให้กลายเป็นผู้แนะนำการสอนที่มีประสิทธิภาพ
  • พัฒนาระบบให้สามารถพัฒนาครูที่ดีที่สุดได้สำหรับเด็กทุกคน

รายงานของแมคเคนซีย์พบว่าใน 25 โรงเรียนตัวอย่าง ปัจจัยสามประการนี้ประสบความสำเร็จในการพัฒนาประสิทธิภาพการเรียนการสอนได้ในทุกโรงเรียน

มีการศึกษาอื่นสนับสนุนในข้อนี้อีก

ปี 2554 สถาบันกราทตันรายงาน เรียนรู้จากสิ่งที่ดีที่สุด [http://www.grattan.edu.au] ทดสอบในสี่ประเทศที่มีระบบโรงเรียนดีที่สุดในเอเชีย – สิงคโปร์, เซี่ยงไฮ้, เกาหลีใต้และฮ่องกง

ที่นักวิจัยต้องการทราบคือ: ทำไมประเทศเหล่านี้จึงก้าวหน้าเร็วกว่าประเทศอื่นๆ?

คนทั่วมากคิดว่าการศึกษาในทวีปเอเชียนั้นมีประสิทธิภาพในเฉพาะบางประเทศ แต่หลักฐานนี้จะหักล้างกับความเชื่อเหล่านั้น ในสี่ประเทศนี้ ประสิทธิภาพของการศึกษามาจากยุทธศาสตร์การดำเนินการด้านการศึกษาที่ได้ผลซึ่งเน้นหนักในด้านการดำเนินการในการพัฒนาหลักสูตรที่พัฒนาการเรียนการสอนอย่างต่อเนื่อง

ในระยะเวลาเพียงห้าปี ฮ่องกงขยับจากลำดับที่ 17 มาสู่ลำดับที่ 2 จากรายงานการศึกษาความก้าวหน้าของการอ่านออกเขียนได้นานาชาติ (PIRLS) ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 การปฏิรูปการศึกษาในสี่ประเทศทำให้จำนวนประชากรที่อ่านออกเขียนได้เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว

ความสำเร็จไม่อาจมองเห็นได้จากสิ่งที่มักเห็นว่าเป็นการเน้นย้ำด้านการท่องจำอย่างที่มักสอนกันในประเทศในเอเชีย เด็กเรียนที่พึ่งพาการเรียนแบบท่องจำมีผลคะแนนที่ไม่ดีนักในการสอบของ PISA เพราะการประเมินของ PISA เน้นหนักด้านกระบวนการสร้างความรู้และความสามารถในการแก้ปัญหา ทักษะเหล่านี้ไม่อาจมีได้จากการท่องจำ การท่องจำเพื่อไปทำข้อสอบจะทำให้ได้คะแนนน้อยกว่าในการสอบ PISA นอกเหนือจากนั้น การวิจัยนานาชาติแสดงให้เห็น ยกตัวอย่างเช่น การเรียนในชั้นเรียนที่ฮ่องกงนั้นเน้นหนักที่การให้เหตุผลแบบนิรนัยกับเนื้อหาที่ทันสมัยมากขึ้น

ผู้ดูแลด้านนโยบายการศึกษาของไทยสามารถใช้รายงานของกราททันในสี่ประเทศดังกล่าวเป็นตัวอ้างอิง ผู้ที่ศึกษาจะสามารถเห็นได้ชัดเจนว่าการปฏิรูปการศึกษาในสี่ประเทศเหล่านั้นมีหนึ่งหรือหลายอย่างที่คล้ายกันอยู่คือ;

–           มีการจัดการศึกษาครูที่มีประสิทธิภาพ ในสิงคโปร์นักศึกษาจะได้รับเงินเดือนระหว่างการเรียนวิชาชีพครู รัฐบาลมีอำนาจเด็ดขาดในการสั่งปิดสถาบันการศึกษาที่ไม่มีประสิทธิภาพ

–           จัดหาที่ปรึกษาเพื่อการพัฒนาการเรียนและการสอนอย่างต่อเนื่อง ในเซี่ยงไฮ้ ครูทุกคนจะมีที่ปรึกษา และครูจบใหม่จะมีที่ปรึกษามากกว่าหนึ่งคนคอยดูแลและให้คำแนะนำในการสอนของครู

–           มองครูในฐานะนักวิจัย ในเซี่ยงไฮ้ครูจะเป็นส่วนหนึ่งของกลุ่มวิจัยที่พัฒนาและประเมินผลการสอนอย่างต่อเนื่อง ครูไม่สามารถของวุฒิที่สูงขึ้นได้หากไม่เคยมีผลงานตีพิมพ์ในสื่อสาธารณะ

เรื่องท้าทายของประเทศไทยคือการมองดูประเทศเหล่านั้นและคิดค้นว่าสิ่งใดที่สามารถนำมาประยุกต์ใช้กับประเทศไทยได้อย่างรวดเร็วและเหมาะสม ซึ่งนั่นก็เหมือนกับที่สิงคโปร์, เกาหลีใต้, เซี่ยงไฮ้และฮ่องกงเคยทำมา

ประเทศไทยก็สามารถทำได้เช่นกัน

 

One reply on “High Performing Schools: What’s the secret?

to score well on the PISA data, a school must have a relatively permanent staff wno share info & techniques as they develop their craft. In the US, we pay newer teachers so poorly that many leave just as they begin to understand what it takes to bring out the the best in students. It is impossible to measure the devastating effects, intellectually, financially, and socially, that result from this trend. Anyone with a brain can be taught to “instruct” a class, through rote methodology, and prepare them for a standardized test. These tests have their place in the overally education of young people, but most of what they face in life after high school is anything but “standardized”! A good teacher encourages THINKING. Many have found ways to do this and teach to the test at the same time. Those are the ones who are leaving. As rewarding as the outcome may be, this kind of teaching demands time and effort far beyond the scope of the paycheck they receive. They are confident, capable people who realize there are other things they can do with their creative minds for much more money and less hassle. Administrators often minimize such loss but these are “the straws that stir the drink”. Without them, the process loses its “fizz” and the product we graduate is far less than it could be. We have already begun to pay for that.

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *