Categories
Featured Articles Op Ed Opinion:Thai education Opinion:World Education

CHANGING TIMES ….CHANGING TEACHING AND LEARNING FOR THE 21ST CENTURY การเปลี่ยนแปลงของเวลา…. การเปลี่ยนแปลงของการเรียนการสอนในศตวรรษที่ 21

The pace of change in the world today is a feature of daily life in the 21st Century.

Educators who were in schools 30 years ago will remember the anticipated arrival of computers into daily life. Probably not many people fully realised the full impact of the rapid development of Information and Communications Technology daily life, but the coming of computers was something that was looked forward to as people felt there would been many social and economic advantages that would come with the widespread introduction of the new technology. There was talk of how computers would take over so much work that people would have much more leisure. Some education systems introduced “leisure education” into the curriculum!

I guess a question remains on whether or not the introduction of computers as an essential business and household tool has brought increased leisure. Many would doubt that it has.

But one thing was true about the 70s anticipation of the coming Information Age. In the 21st century digital technology permeates many aspects of daily life. It would be easy to list the many changes in personal and work lives that have come about as a result of pervasive ICTs, but those things are so obvious it is not necessary to mention them here.

One very important thing that is vital for educators to grasp is the rapid pace of change in work life and the exponential explosion in knowledge that has come about in the years between the final decades of last century and today.

Children born since the start of the 21st century are “digital natives” they are growing up in a truly digital, flat world.

What about the teachers of those children?

Not too many of them would be true “digital natives” most would be “digital immigrants”, they would have had to learn to live and work in the new digital age. The use of the tools of that age does not come easily to all people, teachers included. It must be admitted, however, that just as some people have a flair for learning languages other than their own native language, so too do some people have a flair for learning the digital “language” so essential to mastering the digital tools available to teachers.

Just imagine this scenario – a teacher in a high school who cannot use email, who cannot browse the internet, who cannot use tools like Skype, who does not know anything about Facebook. How can that teacher understand the real needs of the students he (or she) teachers. How can such teachers understand the world of their students and in fact how can they know their students in a way that will enable the teacher to teach the students as individuals?

Such teachers are a bit like teachers who are asked to teach a foreign language to students when they, the teachers in fact cannot speak that language themselves. They are being put in an impossible situation by the curriculum planners and administrators who introduce such initiatives without the requisite professional development of the teachers faced with implementation of the new language.

Do you know any teachers like this? Do you work with teachers like this? What are their lessons like? What is their relationship with their students like?

In Thailand I am sure many such teachers would be found in schools.

Teachers who have not adapted to the Information Age should not be condemned or looked down upon. They deserve and need as much help as possible from colleagues and their employers so that they have the confidence to use ICTs to improve their pedagogy.

Unlike the example of the jurisdictional introduction of a new curriculum above, the students who are the digital natives of the 21st century deserve to have teaching methods and a curriculum that is suited to their digital world and times. This need is not being imposed by administrators or governments as in the case of the imposition of foreign language learning as in the example above, it comes from an inevitable international spread of digital technology. So governments have to get their educations systems to respond to this as an imperative for their education systems.

In the case of Thailand, the government is about to start the distribution of computer tablets to students in Matayom 7 [year 1, high school]. The government should be applauded for taking a big step in providing Thai students with an important digital tool.

The advantage to be gained from this bold and brave initiative will not be maximized unless there is a program to train and support teachers in the use of these tablets. If there is adequate support this program could provide a dramatic swing towards student centred learning in Thai schools

SCLThailand will continue to monitor and encourage the government to follow through with it’s tablets for school children program.

ก้าวของการเปลี่ยนแปลงในโลกทุกวันนี้คือลักษณะของชีวิตประจำวันในศตวรรษที่ 21

 

นักการศึกษาที่เคยอยู่ในโรงเรียนเมื่อ 30 ปีที่แล้วจะจำได้ถึงการทำนายถึงการเข้ามาของคอมพิวเตอร์ในชีวิตประจำวัน เป็นไปได้ว่าน้อยคนที่จะตระหนักจริงๆถึงผลกระทบรุนแรงของการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วของเทคโนโลยีการสื่อสารที่มีต่อชีวิตประจำวัน แต่การเข้ามาของคอมพิวเตอร์เป็นอะไรบางอย่างที่ถูกจับตามองจากคนจำนวนมากเนื่องจากผู้คนมองว่าจะมีโอกาสทางด้านสังคมและเศรษฐกิจที่จะมาถึงพร้อมกับการแพร่กระจายของเทคโนโลยีสมัยใหม่ มีการพูดคุยกันถึงบทบาทของคอมพิวเตอร์ที่เข้ามาทำงานแทนทำให้คนมีเวลาว่างมากขึ้น บางหน่วยงานถึงกับบรรจุ “การศึกษาเพื่อการพักผ่อน” ขึ้นในหลักสูตร

ผู้เขียนเดาว่าคำถามที่ยังคงอยู่คือ การเข้ามาของคอมพิวเตอร์เป็นธุรกิจที่จำเป็นและเครื่องมือจำเป็นในงานธุรกิจและครัวเรือนที่นำมาซึ่งเวลาว่างที่เพิ่มขึ้น หลายคนจะสงสัยว่ามันจริงหรือไม่

แต่สึ่งหนึ่งที่เป็นจริงเกี่ยวกับการคาดการณ์การเข้ามาของยุคเทคโนลีการสื่อสารในยุค 70 คือ ในศตวรรษที่ 21เทคโนโลยีดิจิตอลแทรกซึมเข้ามาในหลาย ๆ ด้านของชีวิตประจำวัน มันง่ายต่อการแสดงรายการการเปลี่ยนแปลงมากมายในชีวิตส่วนตัวและการทำงานที่มีอันเป็นผลมาจากเทคโนโลยีสารสนเทศที่แพร่หลาย แต่สิ่งเหล่านี้จะเห็นได้ชัดเจนแล้ว ดังนั้นจึงไม่จำเป็นต้องพูดถึงที่นี่
สิ่งหนึ่งที่สำคัญมากที่มีความสำคัญสำหรับนักการศึกษาที่จะเข้าใจคือการก้าวอย่างรวดเร็วของการเปลี่ยนแปลงในชีวิตการทำงานและการทะลักของความรู้ที่ได้มาในปีที่ผ่านมาระหว่างทศวรรษสุดท้ายของศตวรรษที่ผ่านมาและในวันนี้

เด็กๆที่เกิดมาตั้งแต่ช่วงเริ่มต้นของศตวรรษที่ 21 ถือเป็น ประชากรยุคดิจิตัล ซึ่งเติบโตขึ้นมาในโลกที่พรั่งพร้อมด้วยเทคโนโลยีรอบตัว

แล้วครูของเด็กๆเหล่านี้ล่ะ?

มีไม่มากนักที่เป็นประชากรยุคดิจิทัล ส่วนมากแล้วจะถือเป็น ผู้อพยพยุคดิจิทัลมากกว่า พวกเขาจำเป็นต้องเรียนรู้ที่จะใช้ชีวิตและทำงานให้ได้ในยุคสมัยของเทคโนโลยี การใช้เครื่องมือที่มีอายุเป็นตัวแบ่งให้ไม่อาจเข้าใจได้ง่ายกันทั่วถึงทุกคน ครูเองก็เป็นหนึ่งในนั้น แต่อย่างไรก็ตาม ต้องยอมรับว่าเพียงแค่คนบางส่วนเท่านั้นนั้นที่มีไหวพริบมากพอจะเรียนรู้ภาษาอื่นนอกเหนือจากภาษาแม่ที่ตนใช้อยู่ หลักการเดียวกับที่ว่าเพียงบางกลุ่มบางคนเท่านั้นที่มีความสามารถที่จะเรียนรู้ “ภาษา” ของยุคดิจิตัลได้มากพอจะเข้าใจที่จะทำให้เครื่องมือเหล่านั้นเหมาะสมสำหรับครู

ลองนึกถึงเหตุการณ์สมมุติว่า ครูมัธยมคนหนึ่งไม่รู้จักวิธีใช้อีเมลล์ ไม่สามารถค้นข้อมูลในอินเทอร์เน็ทได้ ใช้สไกป์ไม่เป็น ไม่รู้จักเฟสบุ้ค ครูคนนั้นจะสามารถเข้าใจถึงความต้องการที่แท้จริงของนักเรียนที่ครูคนนั้นสอนอยู่ได้อย่างไร ครูคนนั้นจะเข้าใจโลกของนักเรียนของตนได้อย่างไร และสุดท้าย ครูจะรู้จักนักเรียนของตัวเองมากพอที่จะสามารถสอนเด็กคนนั้นได้อย่างไร?

ครูเหล่านั้นก็เหมือนกับครูที่ถูกจ้างให้สอนภาษาต่างประเทศให้เด็ก ในขณะที่จริงๆแล้วครูคนนั้นไม่สามารถพูดภาษานั้นได้ด้วยซ้ำ ครูถูกผลักให้เข้าไปอยู่ในสถานณการณ์ที่เป็นไปไม่ได้โดยผู้จัดทำหลักสูตรที่นำเข้ามาโดยไม่มีการพัฒนาครูให้มีความรู้ความสามารถในภาษาใหม่นี้ก่อน

คุณรู้จักครูแบบนี้บ้างไหม? เคยทำงานร่วมกับอาจารย์เหล่านี้หรือเปล่า? ชั่วโมงเรียนของพวกเขาเป็นอย่างไร? ความสัมพันธ์ระหว่างครูและนักเรียนเป็นอย่างไร?

ผู้เขียนค่อนข้างมั่นใจว่า ในประเทศไทย เราสามารถพบครูเหล่านี้ได้ทั่วไปในโรงเรียน

คุณครูผู้ไม่อาจปรับตัวเข้ากับยุคสมัยใหม่ได้ไม่ควรต้องถูกตัดสินว่าผิดหรือถูกมองข้าม พวกเขาควรและต้องได้รับการช่วยเหลือทุกด้านเท่าที่จะเป็นไปได้จากเพื่อนร่วมงานและผู้บัญชาการเพื่อให้พวกเขามีความมั่นใจที่จะให้เทคโนโลยีสารสนเทศข้ามาปรับปรุงการเรียนการสอน

ตรงข้ามกับตัวอย่างข้างบนเกี่ยวกับผู้ที่เพิ่งก้าวเข้าสู่โลกดิจิทัล นักเรียนผู้เป็นประชากรยุคดิจิทัลในศตวรรษที่ 21 ควรได้รับวิธีการสอนและหลักสูตรวิชาที่เหมาะสมกับโลกและเวลาในยุคของเขา ความต้องการนี้ไม่ได้ถูกกำหนดโดยผู้ดูแลหรือรัฐบาลอย่างเช่นตัวอย่างเรื่องการเรียนการสอนภาษาต่างประเทศที่ยกมาก่อนหน้า มันมาจากการขยายตัวของเทคโนโลยีสารสนเทศที่พัฒนาอย่างรวดเร็ว ดังนั้นรัฐจำเป็นต้องจัดการระบบการศึกษาของประเทศเพื่อตอบสนองต่อความเปลี่ยนแปลงนี้

ในกรณีของประเทศไทย รัฐบาลกำลังอยู่ในขั้นเริ่มต้นจากนโยบาลมอบแท้ปเล็ตให้กับนักเรียนมัธยมศึกษาปีที่ 1 ซึ่งเป็นสิ่งที่น่าชื่นชมสำหรับก้าวใหญ่ของการจัดหาเครื่องมือดิจิตอลที่สำคัญให้กับนักเรียนไทย

การพัฒนาในขั้นต่อไปจากจุดนี้จะไม่สามารถบรรลุผลขั้นสูงสุดได้หากปราศจากขั้นตอนการฝึกสำหรับครูให้สามารถใช้เครื่องมือนี้ได้ หากทำได้มันจะเป็นตัวสนับสนุนสำคัญสำหรับการศึกษาแบบผู้เรียนเป็นศูนย์กลางในประเทศไทย

SCLประเทศไทยจะจับตาดูการเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้นต่อจากนี้และให้รัฐบาลเดินหน้าขั้นต่อไปกับนโยบายนี้

One reply on “CHANGING TIMES ….CHANGING TEACHING AND LEARNING FOR THE 21ST CENTURY การเปลี่ยนแปลงของเวลา…. การเปลี่ยนแปลงของการเรียนการสอนในศตวรรษที่ 21

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *