Categories
Op Ed Opinion:Thai education Opinion:World Education

Student – centred learning…..what matters most in achieving the goal of student centred learning?การเรียนรู้โดยมีนักเรียนเป็นศูนย์กลาง…..สิ่งสำคัญที่สุดเพื่อการบรรลุถึงเป้าหมายของการศึกษาแบบนักเรียนเป็นศูนย์กลางคืออะไร?

I am always attracted to schools as I travel around, whether in Thailand or in other countries. Why? I guess it is because I wonder what the experience of education is like for the children in the schools.

Travelling in three rural provinces of Southern Thailand recently, I admired the spectacular scenery of the off shore islands and rich tropical forests with limestone peaks jumping out of them. As I passed through larger towns and I noted the high schools, which always seemed to be near the main road and passing between small villages I saw local primary schools, all quiet and , bare of students at this time of the year, because April is the main part of Thai schools’ summer holiday.

Can a passing glance from a car tell one much about what it is like to be a student in any school? Of course it cannot. As I observed these schools, I soon came to realise that they all looked much the same – the large high schools had similar architecture and the design of the smaller schools were all much the same. There were differences in the way the playgrounds were kept and if paint work is used as the standard of judgment, the quality of the maintenance of the buildings. Such observations of schools would also be true in other countries.

The only way to gain an insight into the learning experience of the students who attend a school, is to actually spend some time in the school, in classrooms with teachers and students. External looks can be deceiving – a school which looks a bit run down or looks the same in design as hundreds of other schools, does not really tell one much about the experience of learning that is occurring in the school.

In this month’s edition of SCLThailand our Managing Editor has submitted an article called “The caring classroom” it is about a school in Pakistan. The photographs in that story as well as the commentary, tell us that although the school and the students are very poor, the learning experience in the school is child centred and appears to be a rich experience.

What I am getting at here is related to the theme we have taken up in previous Op Ed commentary. That is the inescapable fact that student – centred learning is strongly dependent on the pedagogical skills of the teachers.

That is not to say that the physical and educational resources of a school are not important, they are important, but the style and quality of the teaching is by far much more important.

This photograph, sent from Pakistan by our Managing Editor, Dr Peter Foley, shows the active involvement of the teacher and the engagement of the students in a school which is not much more than a tent. Please make sure you read the article on the “Caring School”.

Around the world, there are architectural companies that specialize in school design. These companies design some wonderfully innovative schools. Often their work is for wealthier governments and private school owners and developers.

One such architectural company based in Florida, USA which has designed schools around the world in both the economically advanced world and the less economically advanced world, has published a book about their work [The Language of School Design: Design Patterns for 21st Century Schools by Nair, P., and  Fielding, R., published by DesignShare.com]. The wonderful thing about this book is the first chapter looks at different modes of learning and this says much about the architects’ thinking.

A good example of their conceptual thinking is that in most schools designed by this company, they include what they call the “camp fire space”.

This is the interesting concept of providing a space in the school which is not unlike a campfire. The architects are not suggesting an actual campfire, but a space where teacher and students can gather and do what usually happens around a campfire. They can [metaphorically] gaze at the stars and dream of the way problems can be resolved or the teacher can use the space to provoke student discussion about big and generative questions. The campfire space becomes a  place where curiosity can be encouraged and dreams can be formed.

I don’t think it would be hard to form such “campfire” sites in schools that have not been recently designed. The hard thing is to inspire teachers to use this method of teaching.

Just going back to my comments about traditional looking schools, student centred education is not about architecture or the level of technology, it is about the attitudes and approaches of the teachers and those who lead and support them.  

What do our readers think?

Greg Cairnduff,

Deputy Managing Editor.

การเรียนรู้โดยมีนักเรียนเป็นศูนย์กลาง…..สิ่งสำคัญที่สุดเพื่อการบรรลุถึงเป้าหมายของการศึกษาแบบนักเรียนเป็นศูนย์กลางคืออะไร?

เกรก คาร์นดัฟฟ์ รองบรรณาธิการผู้จัดการ

14 เมษายน 2555

ผู้เขียนมักถูกโรงเรียนดึงดูดความสนใจทุกครั้งที่ออกเดินทางไปไหนมาไหน ทั้งในประเทศไทยและต่างประเทศ ทำไม? ผู้เขียนคิดว่านั่นเป็นเพราะตัวเองเฝ้าสงสัยว่าประสบการณ์ทางการศึกษาแบบใดกันที่เด็กในโรงเรียนเหล่านั้นจะได้รับ

การเดินทางไปในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้เมื่อเร็วๆนี้ ได้ชื่นชมทัศนียภาพอันงดงามของหมู่เกาะตามแนวชายฝั่งและป่าร้อนหนาทึบสลับแซมด้วยชะง่อนเขาหินปูน ขณะผ่านเข้าไปในเมือง ผู้เขียนสังเกตเห็นโรงเรียนมัธยมหลายแห่ง ซึ่งดูเหมือนจะตั้งอยู่ใกล้ถนนสายหลักเสมอและระหว่างผ่านเข้าไปยังหมู่บ้านเล็กๆผู้เขียนมองเห็นโรงเรียนประถม ทุกแห่งเงียบสงบและแทบไม่มีนักเรียน เพราะเดือนเมษายนอยู่ในช่วงปิดเทอมใหญ่ของโรงเรียนในประเทศไทย

การมองผ่านหน้าต่างรถยนต์ขณะขับผ่านจะบอกได้ไหมว่าการเรียนที่โรงเรียนนั้นเป็นอย่างไร? แน่นอนว่าไม่สามารถ เท่าที่ผู้เขียนสังเกตเห็นได้อย่างรวดเร็วว่าโรงเรียนเหล่านั้นดูคล้ายกันเป็นส่วนใหญ่ โรงเรียนมัธยมขนาดใหญ่มีโครงสร้างสถาปัตยกรรมและการออกแบบคล้ายคลึงกันมากกับโรงเรียนที่มีขนาดเล็กกว่า มีความแตกต่างกันที่ตำแหน่งของสนามเด็กเล่น และหากใช้งานสีเป็นมาตรฐานในการตัดสินคุณภาพการบำรุงรักษาสถานที่ โรงเรียนที่เราผ่านไปก็เป็นหนึ่งในนั้นที่ผ่านเข้ารอบในประเทศอื่นๆ

ทางเดียวที่จะได้มาซึ่งข้อมูลเชิงลึกของประสบการณ์การเรียนรู้แบบนักเรียนเป็นศูนย์กลางของนักเรียนที่อยู่ในโรงเรียนนั้นๆก็คือการใช้เวลาอยู่ในนั้นจริงๆ ร่วมกับครูและนักเรียนในชั้น ภาพลักษณ์ภายนอกอาจหลอกตาเรา โรงเรียนที่ดูเก่าหรือดูเหมือนๆกันกับโรงเรียนอื่นๆนับร้อยไม่ได้บอกเรามากนักถึงการเรียนรู้ที่เกิดขึ้นข้างในนั้น

บทความเดือนเมษายนนี้ของ SCL ประเทศไทย บรรณาธิการผู้จัดการของเราได้ลงบทความเรื่อง “ห้องเรียนแห่งการดูแล” เป็นเรื่องราวของโรงเรียนในประเทศปากีสถาน ภาพถ่ายประกอบบทความรวมถึงข้อความบอกเราว่าแม้ว่าโรงเรียนและนักเรียนที่นั่นจะยากจนและขาดแคลน การเรียนรู้ที่เกิดขึ้นในโรงเรียนแห่งนั้นอัดแน่นเต็มไปด้วยประสบการณ์การเรียนรู้แบบนักเรียนเป็นศูนย์กลาง

สิ่งที่ผู้เขียนต้องการจะสื่อในที่นี้เกี่ยวโยงไปถึงบทความที่ลงไปก่อนหน้า นั่นคือความจริงที่เราหลีกหนีไม่พ้นว่าการเรียนรู้โดยมีนักเรียนเป็นศูนย์กลางนั้นจะมีขึ้นได้ก็ต้องขึ้นกับทักษะการจัดการหลักสูตรการเรียนรู้ของครูเป็นสำคัญ

ไม่ได้หมายความว่าตึกเรียนและแหล่งการเรียนรู้ของโรงเรียนไม่มีความสำคัญ สิ่งเหล่านั้นเป็นสิ่งสำคัญ แต่ลักษณะและคุณภาพในการสอนของครูสำคัญกว่านั้น มาก

รูปนี้ส่งมาจากประเทศปากีสถานโดยบรรณาธิการผู้จัดการ ด้อกเตอร์ปีเตอร์ โฟเลย์ แสดงให้เราเห็นถึงการมีส่วนร่วมกันระหว่างครูและนักเรียนในโรงเรียนที่ไม่ได้เป็นมากไปกว่าเต็นท์หลังหนึ่ง สำหรับเรื่องราวในภาพท่านสามารถอ่านได้จากบทความของเราเรื่อง “ห้องเรียนแห่งการดูแล”

ทั่วโลกมีบริษัทออกแบบก่อสร้างที่ทำงานในด้านการออกแบบโรงเรียนโดยเฉพาะ บริษัทเหล่านี้มีผลงานการออกแบบสถาปัตยกรรมโรงเรียนที่เยี่ยมยอดหลายแห่ง โดยผลงานส่วนมากเป็นของประเทศร่ำรวยและเจ้าของโรงเรียนเอกชนและนักพัฒนา

หนึ่งในนั้นตั้งอยู่ในรัฐฟลอริด้า สหรัฐอเมริกา ซึ่งทำงานออกแบบโรงเรียนหลายแห่งทั่วโลกทั้งในประเทศพัฒนาแล้วและประเทศกำลังพัฒนา บริษัทนั้นได้ตีพิมพ์หนังสือเล่มหนึ่งเกี่ยวกับงานที่ทำชื่อว่า [ภาษาของการออกแบบโรงเรียน: รูปแบบสำหรับโรงเรียนในศตวรรษที่ 21 โดย ไนล์ พีและฟีลลดิ้ง อาร์ ตีพิมพ์โดย DesignShare.com] สิ่งที่น่าทึ่งเกี่ยวกับหนังสือเล่มนี้คือในบทแรกที่กล่าวถึงการมองความแตกต่างของการเรียนรู้และความคิดของนักออกแบบ

ตัวอย่างที่ดีของแนวความคิดของพวกเขาคือ ในงานสร้างโรงเรียนส่วนใหญ่ของที่นี่ พวกเขาได้รวมแนวความคิดที่เรียกว่า “ที่ว่างข้างกองไฟ” เอาไว้ด้วย

นี่เป็นสิ่งที่น่าสนใจสำหรับแนวคิดในการจัดการที่ว่างในโรงเรียนซึ่งไม่เหมือนกันกับรอบกองไฟ สถาปนิกไม่ไดหมายความถึงแค้มป์ไฟจริงๆ แต่คือพื้นที่ว่างที่ครูและนักเรียนสามารถเข้ามาร่วมกันเพื่อทำกิจกรรมเหมือนที่เกิดขึ้นในค่ายรอบกองไฟ พวกเขาสามารถ(เปรียบเทียบว่า)มองดูดาวบนท้องฟ้าและจินตนาการถึงวิธีการแก้ปัญหาหรือครูสามารถใช้ที่ว่างตรงนี้เพื่อสะกิดถามนักเรียนให้แสดงความเห็นในเรื่องรอบตัว ให้ที่ว่างรอบกองไฟเป็นที่ที่ความอยากรู้ได้รับการตอบสนองและความใฝ่ฝันก่อตัวขึ้น

ผู้เขียนไม่คิดว่าการสร้าง “ค่ายรอบกองไฟ” ที่ยังไม่เคยมีมาก่อนนั้นจะยาก ส่วนที่ยากคือการสร้างแรงบันดาลใจให้ครูนำวิธีการสอนนี้ไปใช้จริง

กลับมาที่ความเห็นของผู้เขียนเรื่องรูปแบบตึกเรียนมาตรฐาน การเรียนรู้โดยมีนักเรียนเป็นศูนย์กลางไม่ใช่เรื่องของสิ่งก่อสร้างทางสถาปัตยกรรมหรือระกับขั้นของเทคโนโลยี แต่เป็นทัศนคติและวิธีการสอนของครูและทุกฝ่ายที่สนับสนุน

ท่านผู้อ่านมีความเห็นอย่างไรครับ?

เกรก คาร์นดัฟฟ์

One reply on “Student – centred learning…..what matters most in achieving the goal of student centred learning?การเรียนรู้โดยมีนักเรียนเป็นศูนย์กลาง…..สิ่งสำคัญที่สุดเพื่อการบรรลุถึงเป้าหมายของการศึกษาแบบนักเรียนเป็นศูนย์กลางคืออะไร?

As we have grown to expect after reading several of Ajaan Greg’s op ed pieces , there is much food for thought in what he says. In his latest op ed piece I was struck at the importance of the campfire spaces for children in a classroom that Greg mentioned. It started me thinking more about activities based learning. I especially like the idea of making spaces, three or four spaces in a classroom that young, primary school mathematicians can visit in a class to perform activities they are interested in at that time. One corner might be numbers games; another various math game puzzles; another some fun math problems to solve in a group of three or four students; and another might be just cards for students to practice multiplication or working with fractions with a student partner or a group of students.

Leave a Reply to Peter J. Foley Cancel reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *